สำนักวัดนาป่าพงคึกฤทธิ์และสาวกพลาด! สร้าง" พุทธวจน " ปลอม

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย เสขะปฎิสัมภิทา, 7 กรกฎาคม 2015.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    49,399
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ..................................................
    อยากทราบว่ามีกี่เล่มที่พิมพ์เผยแพร่ไปแล้วคะ จะมีการเรียกคืนไหม
     
  2. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ปญฺจหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคโต ราชา จกฺกวตฺตี
    ธมฺเมเนว จกฺกํ ปวตฺเตติ ตํ โหติ จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติยํ เกนจิ
    มนุสฺสภูเตน ปจฺจตฺถิเกน ปาณินา กตเมหิ ปญฺจหิ อิธ ภิกฺขเว
    ราชา จกฺกวตฺตี อตฺถญฺู จ โหติ ธมฺมญฺู จ มตฺตญฺู จ
    กาลญฺู จ ปริสญฺู จ อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหิ องฺเคหิ
    สมนฺนาคโต ราชา จกฺกวตฺตี ธมฺเมเนว จกฺกํ ปวตฺเตติ ตํ โหติ
    จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติยํ เกนจิ มนุสฺสภูเตน ปจฺจตฺถิเกน ปาณินา
    เอวเมว โข ภิกฺขเว ปญฺจหิ ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต ตถาคโต อรหํ
    สมฺมาสมฺพุทฺโธ ธมฺเมเนว อนุตฺตรํ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺเตติ ตํ โหติ
    จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติยํ สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมึ กตเมหิ ปญฺจหิ อิธ
    ภิกฺขเว ตถาคโต อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ อตฺถญฺู ธมฺมญฺู
    มตฺตญฺู กาลญฺู ปริสญฺู อิเมหิ โข ภิกฺขเว ปญฺจหิ ธมฺเมหิ
    สมนฺนาคโต ตถาคโต อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ธมฺเมเนว อนุตฺตรํ
    ธมฺมจกฺกํ ปวตฺเตติ ตํ โหติ จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติยํ สมเณน วา
    พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา
    โลกสฺมินฺติ ฯ


    แม้จะมีอุปสรรค ในความดึงดัน เพียรพยายามจะหลอกลวงพุทธบริษัทให้ได้ แต่ก็ยังต่อต้านการรุกรานของสำนักบิดเบือนได้ สาธุในบุญฯของเจ้าคณะอำเภอ

    เข้าใจคำว่าหมุนธรรมจักรกลับไหม? มันหมุนมันจับมันถือพระธรรมคำสั่งสอน. แล้วสอนคนไปอีกทางไปอีกด้าน คนโง่ก็เข้าใจว่าหมุนถูกหมุนไปทางไหนก็ได้ก็ดี เห็นกรงจักรเป็นดอกบัว โดยอาศัยธรรมทำลายธรรมในศาสนาพุทธ

    นี่ล่ะหมุนธรรมจักรกลับไปอีกด้าน "ใครหมุนกลับ ผู้นั้นเป็นผู้ผิด "


    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่มีชื่อเสียง ประกอบ
    ด้วยธรรม ๓ ประการ ปฏิบัติเพื่อไม่เกื้อกูลแก่คนหมู่มาก เพื่อไม่ใช่สุขแก่คนหมู่
    มาก เพื่อไม่ใช่ประโยชน์แก่คนหมู่มาก เพื่อไม่เกื้อกูล เพื่อทุกข์แก่เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย ธรรม ๓ ประการ อะไรบ้าง คือ
    ๑. ชักชวนในกายกรรมที่ไม่สมควร
    ๒. ชักชวนในวจีกรรมที่ไม่สมควร
    ๓. ชักชวนในธรรมที่ไม่สมควร
    ภิกษุที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการนี้แล ปฏิบัติเพื่อไม่เกื้อกูล
    แก่คนหมู่มาก เพื่อไม่ใช่สุขแก่คนหมู่มาก เพื่อไม่ใช่ประโยชน์แก่คนหมู่มาก เพื่อ
    ไม่เกื้อกูล เพื่อทุกข์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย


    ภิกษุที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ ปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่คน
    หมู่มาก เพื่อสุขแก่คนหมู่มาก เพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มาก เพื่อเกื้อกูล เพื่อสุข
    แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    ธรรม ๓ ประการ อะไรบ้าง คือ
    ๑. ชักชวนในกายกรรมที่สมควร
    ๒. ชักชวนในวจีกรรมที่สมควร
    ๓. ชักชวนในธรรมที่สมควร
    ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการนี้แล
    ปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่คนหมู่มาก เพื่อสุขแก่คนหมู่มาก เพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มาก
    เพื่อเกื้อกูล เพื่อสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    ...ญาตสูตรที่ ๑ จบ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2016
  3. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    คำอวยพร ในปีใหม่ ๒๕๕๙
    พระเดชพระคุณ พระเทพรัตนสุธี เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี ไปเยี่ยมเยียนกราบนมัสการท่านบ้าง ขอความเห็นท่านบ้างก็คงจะดีนะครับ ใครอยู่ใกล้ๆ หวังว่าท่านคงไม่เกรงอิทธิพล
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. gratrypa

    gratrypa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2011
    โพสต์:
    1,283
    ค่าพลัง:
    +1,505
    เขียน ๒๓.๒๐

    อ้าว..อยู่ปทุม ถิ่นแก๊งจานบินนี่หน่า จะเหลือเรอะท่าน หึหึหึ


    กระต่ายป่า ข้างวัด / เล็บครุฑ นารายณ์ทรง ทราบ

    .
     
  5. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ในพระพุทธศาสนาไม่มีเรื่องที่เรียกว่าบังเอิญ. ธนาคารดังไฟไหม้ ดาราพิธีกรมีแต่เรื่องราว ก็เพราะหนุนคึกฤทธิ์เจ้ากรรมนายเวรเทวดาที่ป้องรักษาเขาไม่เล่นด้วย ขายหนังสือพุทธวจน โอนธนาคารไหนเป็นหลัก.ลูกศิษย์ในสำนักรีบตายห่าเร็วขึ้น พวกมีชื่อเสียง ตลอดจนช่องใหญ่ก็พลอยเสื่อมเสีย. แม้แต่วงการนักรบ. ความวุ่นวายก็เกิดต่อเนื่อง รุนแรงขึ้น. ตายมากขึ้น น้ำแล้ง การเมืองประเทศวุ่นวายคงรู้สึกเฉยๆนึกว่าไม่เกี่ยวกับไอ้คึกวจน คอยดู ช๊อตเด็ด. จะหนักกว่านี้ กว่าจะรู้ก็สาย. ผลจากการบูชาคนพาล. มีคึกฤทธิ์ พระสยามเทวาธิราชอย่าได้มี เตรียมตัวฉิบหายไปกับสำนักวัดนาป่าพงชั่วๆ

    ไอ้คึกเป็นมาร5มาจุติ หลอกคนหมุนธรรมจักรกลับ ตัวก่อธาตุอันตรธาน มัน เป็นโฆฆะบุรุษมาตามพุทธทำนาย คนผู้ให้ความเห็นที่เทพพรหมเทวดาจำนวนมากได้สำเร็จธรรมเป็นพระอริยะในภพภูมิต่างๆ. ตอนนี้ไม่มีใครนับถือคิดถึงเหล่าเทพพรหมเทวดาเหล่านั้น รวมทั้งพระสันดุสิตเทพบุตร. เพราะสำนักวัดนาป่าพงมันสอน ว่าอย่าไปเคารพนับถือสักการะ เทวดาท่านเศร้าใจได้นะครับ เพราะพวกฝ่ายมารก็จุติมากขึ้น. มนุษย์ไม่ยำเกรง เทิดทูนความดีของเหล่าเทวดาอารักษ์ สามภพจะวุ่นวายมาก. คอยดูธรณี ดินน้ำลมไฟเล่นงานประเทศไทย ย่อยยับแน่ เพราะสำนักชั่วๆ พระศรีอารยเมตไตรย ในฐานะพระเทพบุตรยังถูกราวี สำนักเลวเอ๊ย. หวังว่าจะรอดเจ้ากรรมนายเวร ไอ้คึกมันเป็นเชื้อไวรัส เชื้อโรคในพระพุทธศาสนา ใครที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องตลอดจนมีปมด้อยก็จะไปซูฮกมัน สุดท้ายติดเชื้อ. ไอ้พวกซอมบี้ตายทั้งเป็น ตายทั้งตายตัวเหลือง


    ตายโหงกี่คนแล้วทั้งหญิงชาย ทั้งเป็นข่าวและไม่เป็นข่าว สำรวจดู มีแต่เสียใจด้วยนะ เป็นไปตามกรรมนะสัตว์โลก มีความตายเป็นธรรมดา. เอาอภิณหฯ กับตายตัวเหลือง มาปลอบใจ มึงรู้หรือเปล่าแทนที่เขาจะอยู่ได้นานขึ้นไปอีก กับโดนธาตุทัณฑ์ทำลายขันธ์ ๕ อินทรียธาตุเขายอมตายดีกว่าจะได้ยินได้ฟัง สัทธรรมปฎิรูปที่ไม่เอื้อเฟื้อ แก่เขาแก่เทวดาและเจ้ากรรมนายเวร เขาจึงถอยห่าง มีแต่มาร๕มาพรากเอาชีวิต ตายแล้วต้องลงอเวจีมหานรกอย่างเดียว ไม่มีโอกาสเป็นเทวดา เพราะสำนักมึงไม่เอาเทวดา พ่อแม่ปู่ย่าตายายตาย เขาไหว้พ่อไหว้แม่ จะได้ห่าอะไร? สำนักวัดนาป่าพงมึงทำได้แค่นี้ รู้ไหมเขาตายเพราะไอ้คึก. กรรมเล่นงานเขา.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  6. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    แม้แต่เราก็ต้องบำเพ็ญพรหมจรรย์นี้ถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลายฯในอนาคต เหนื่อยยากแสนเข็ญสักเพียงปานใดกันหนอ วันเวลามาถึงจะรู้เอง จะต้องลำบากมาก กว่าใครๆที่เห็นในยุคนี้เพื่อการบรรลุอินทรียธาตุจึงจะสามารถรองรับอานุภาพของพระสัทธรรม พระธรรมราชาในกาล
    เพื่อ ปาฎิหาริย์ ๓ เพื่อความเป็นอยู่เป็นไปเพื่อพระพุทธศาสนา

    https://youtu.be/HInNFWrFYMs
    ดูก่อนสารีบุตร คติ ๕ ประการนี้แล. ดู
    สารีบุตร ผู้ใดพึงว่าซึ่งเราผู้รู้อย่างนี้ ผู้เห็นอยู่อย่างนี้ว่า ธรรมอันยิ่งของ
    มนุษย์ที่เป็นญาณทัสสนะอันวิเศษ พอแก่ความเป็นอริยะของพระสมณโคดม
    ไม่มี พระสมณโคดมทรงแสดงธรรมที่ประมวลมาด้วยความตรึก ที่ไตร่ตรองด้วย
    การค้นคิด แจ่มแจ้งได้เอง

    ดูก่อนสารีบุตร ผู้นั้นไม่ละวาจานั้นเสียไม่ละ
    ความคิดนั้นเสีย ไม่สละคืนทิฐินั้นเสีย ก็เที่ยงที่จะตกนรก. ดูก่อนสารีบุตร
    เปรียบเหมือนภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา
    พึงกระหยิ่มอรหัตผลในปัจจุบันทีเดียว แม้ฉันใด เรากล่าวข้ออุปไมยนี้
    ก็ฉันนั้น. ผู้นั้นไม่ละวาจานั้นเสีย ไม่ละความคิดนั้นเสีย ไม่สละคืนทิฐินั้นเสีย
    ก็เที่ยงที่จะตกนรก.

    พรหมจรรย์ประกอบด้วยองค์ ๔
    ดูก่อนสารีบุตร อนึ่ง เราย่อมเข้าใจประพฤติพรหมจรรย์
    ประกอบด้วยองค์ ๔ คือ เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะและเป็นเยี่ยมกว่าผู้บำเพ็ญตบะทั้ง
    หลาย เราประพฤติเศร้าหมองและเป็นเยี่ยมกว่าผู้พระพฤติเศร้าหมองทั้งหลาย
    เราเป็นผู้เกลียดบาปและเป็นเยี่ยมกว่าผู้เกลียดบาปทั้งหลาย เราเป็นผู้สงัดและ
    เป็นเยี่ยมกว่าผู้สงัดทั้งหลาย.

    ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ นั้น วัตรต่อ
    ไปนี้เป็นพรหมจรรย์ของเราโดยความที่เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะ คือเราเป็นอเจลก
    คนเปลือย ไร้มารยาท เลียมือ เขาเชิญให้มารับภิกษาก็ไม่มา เขาเชิญให้หยุด
    ก็ไม่หยุดไม่ยินดีภิกษาที่เขานำมาให้ ไม่ยินดีภิกษาที่เขาทำเฉพาะ ไม่ยินดี
    ภิกษาที่เขานิมนต์. เรานั้นไม่รับภิกษาปากหม้อ ไม่รับภิกษาจากหม้อข้าว ไม่
    รับภิกษาที่บุคคลยืนคร่อมธรณีประตูให้ ไม่รับภิกษาที่บุคคลยืนคร่อมท่อนไม้
    ให้ ไม่รับภิกษาที่บุคคลยืนคร่อมสากให้ ไม่รับภิกษาที่ของคนสองคนผู้กำลัง
    บริโภคอยู่ ไม่รับภิกษาของหญิงมีครรภ์ ไม่รับภิกษาของหญิงผู้กำลังให้ลูกดูด
    นม ไม่รับภิกษาของหญิงผู้คลอเคลียบุรุษ ไม่รับภิกษาที่นัดแนะการทำไว้ ไม่
    รับภิกษาในที่ซึ่งสุนัขได้รับเลี้ยงดู ไม่รับภิกษาในที่มีแมลงวันไต่ตอมเป็นกลุ่มๆ
    ไม่กินปลา ไม่กินเนื้อ ไม่ดื่มสุรา ไม่ดื่มเมรัย ไม่ดื่มยาดอง.

    เรานั้นรับภิกษาที่เรือนหลังเดียว เยียวยาอัตภาพด้วยข้าวคำเดียวบ้าง รับภิกษาที่เรือนสองหลัง
    เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๒ คำบ้าง ฯลฯ รับภิกษาที่เรือน ๗ หลัง
    เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๗ คำบ้าง. เยียวยาอัตภาพด้วยภิกษาในถาดน้อยใบ
    เดียวบ้าง ๒ ใบบ้าง ฯลฯ ๗ ใบบ้าง กินอาหารที่เก็บค้างไว้วันหนึ่งบ้าง ๒
    วันบ้าง ฯลฯ ๗ วันบ้าง เป็นผู้ประกอบด้วยความขวนขวายในการบริโภค
    ภัตตาหาร ที่เวียนมาตั้งกึ่งเดือนเช่นนี้บ้าง. เรานั้นเป็นผู้มีผักดองเป็นภักษา
    บ้าง มีข้าวฟ่างเป็นภักษาบ้าง มีลูกเดือยเป็นภักษาบ้าง มีกากข้าวเป็นภักษา
    บ้าง มียางเป็นภักษาบ้าง มีสาหร่ายเป็นภักษาบ้าง มีรำเป็นภักษาบ้าง มีข้าว
    ตังเป็นภักษาบ้าง มีกำยานเป็นภักษาบ้าง มีหญ้าเป็นภักษาบ้าง มีโคมัยเป็น
    ภักษาบ้าง มีเหง้าและผลไม้ในป่าเป็นอาหาร บริโภคผลไม้หล่นเยียวยาอัตภาพ.
    เรานั้นทรงผ้าป่านบ้าง ผ้าแกมบ้าง ผ้าห่อศพบ้าง ผ้าบังสุกุลบ้าง ผ้าเปลือก
    ไม้บ้าง หนังเสือบ้าง หนังเสือทั้งเล็บบ้าง ผ้าคากรองบ้าง ผ้าปอบ้าง ผ้า
    ผลไม้บ้าง ผ้ากัมพลทำด้วยผมบ้าง ผ้ากัมพลทำด้วยขนสัตว์บ้าง ผ้าทำด้วยชน
    ปีกนกเค้าบ้าง เป็นผู้ถอนผมและหนวด คือ ประกอบความขวนขวายในการ
    ถอนผมและหนวดบ้าง เป็นผู้ถือยืน คือ ห้ามอาสวะบ้าง เป็นผู้กระโหย่ง คือ
    ประกอบความเพียรในการกระโหย่ง [เดินกระโหย่งเหยียบพื้นไม่เต็มเท้า] บ้าง
    เป็นผู้นอนบนหนาม คือ สำเร็จการนอนบนหนามบ้าง เป็นผู้ประกอบความ
    ขวนขวายในการลงน้ำวันละสามครั้งบ้าง เป็นผู้ประกอบความขวนขวายในการ
    ย่างและบ่มกายมีประการมิใช่น้อยเห็นปานนี้ ด้วยประการฉะนี้อยู่ ดูก่อนสารี-
    บุตร นี้แหละเป็นพรหมจรรย์ของเรา โดยความที่เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะ.
    พรหมจรรย์เศร้าหมอง

    ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ นั้น พรหม-
    จรรย์นี้เป็นวัตรในการประพฤติเศร้าหมองของเรา. มนทิน คือ ธุลีละอองสั่ง
    สมในกาย เรานับด้วยปีมิใช่น้อย จนเป็นสะเก็ด เปรียบเหมือนตอตะโก มีธุลี
    ละอองสั่งสมนับด้วยปีมิใช่น้อย จนเกิดเป็นสะเก็ด ฉันใด มนทิน คือ ธุลี
    ละอองสั่งสมในกายเรานับด้วยปีมิใช่น้อย จนเกิดเป็นสะเก็ด ฉันนั้นเหมือนกัน
    กัน.


    ดูก่อนสารีบุตร เรามิได้คิดที่จะลูบคลำปัดละอองธุลีนี้ด้วยฝ่ามือ ดูก่อน
    สารีบุตร ความคิดแม้อย่างนี้ไม่ได้มีแก่เราเลย ดูก่อนสารีบุตร นี้แหละ เป็น
    วัตรในความประพฤติเศร้าหมองของเรา.

    ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ เหล่านั้น
    พรหมจรรย์นี้เป็นวัตรในความประพฤติเกลียดบาปของเรา. เรานั้นมีสติก้าวไป
    ข้างหน้า มีสติถอยกลับ. ความเอ็นดูของเราปรากฏเฉพาะ จนกระทั่งในหยด
    น้ำว่า เราอย่าได้ล้างผลาญสัตว์เล็ก ๆ ที่อยู่ในที่อันไม่สม่ำเสมอเลย. ดูก่อน
    สารีบุตร นี้แหละเป็นวัตรในความประพฤติเกลียดบาปของเรา.

    ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ เหล่านั้น
    พรหมจรรย์นี้เป็นวัตรในความสงัดของเรา. เรานั้นเข้าอาศัยชายป่าแห่งใด
    แห่งหนึ่งอยู่ ในกาลใด. เราได้พบคนเลี้ยงโค หรือคนเลี้ยงปศุสัตว์ หรือ
    คนหาบหญ้า หรือคนหาฟืน หรือคนเที่ยวหาผลไม้เป็นต้นในป่า จากชัฏไป
    สู่ชัฏ จากที่ลุ่มไปสู่ที่ลุ่ม จากที่ดอนไปสู่ที่ดอน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เพราะ
    เราคิดว่า คนเหล่านั้น อย่าได้เห็นเราเลยและเราก็อย่าได้เห็นคนเหล่านั้นเลย.
    ดูก่อนสารีบุตร เปรียบเหมือนเนื้อที่เกิดในป่า เห็นมนุษย์ทั้งหลายแล้วก็วิ่ง
    หนีจากป่าไปสู่ป่า จากชัฏไปสู่ชัฏ จากที่ลุ่มไปสู่ที่ลุ่ม จากที่ดอนไปสู่ที่ดอน
    แม้ฉันใด


    ดูก่อนสารีบุตร เราก็ฉันเหมือนกัน ในกาลใด เราได้พบคนเลี้ยง
    โค หรือคนเลี้ยงปศุสัตว์ หรือคนหาบหญ้า หรือคนหาฟืน หรือคนเที่ยวหา
    ผลไม้เป็นต้น ในป่าในกาลนั้น เราก็เดินหนีจากป่าไปสู่ป่า จากชัฏไปสู่ชัฏ
    จากที่ลุ่มไปสู่ที่ลุ่ม จากที่ดอนไปสู่ที่ดอน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เพราะเรา
    คิดว่า คนเหล่านั้นอย่าได้เห็นเราเลย และเราก็อย่าได้เห็นคนทั้งหลายเลย. ดู
    ก่อนสารีบุตร นี้แหละเป็นวัตรในความประพฤติสงัดของเรา.

    ดูก่อนสารีบุตร เรานั้นแลคลานเข้าไปในคอกที่เหล่าใดออก
    ไปแล้วและปราศจากคนเลี้ยงโค กินโคมัยของลูกโคอ่อนที่ยังไม่ทิ้งแม่. มูตร
    และกรีสของเรายังไม่หมดสิ้นไปเพียงไร เราก็กินมูตรและกรีสของตนเองเป็น
    อาหาร. ดูก่อนสารีบุตร นี้แหละเป็น"วัตร"ในโภชนะ"มหา"วิกัฏของเรา.
    ดูก่อนสารีบุตร เรานั้นแล เข้าอาศัยแนวป่าอันน่ากลัวแห่ง
    ใดแห่งหนึ่งอยู่. นี้เป็นความน่ากลัวแห่งแนวป่านั้น. บุคคลผู้ใดผู้หนึ่งยังไม่
    ปราศจากราคะเข้าไปสู่ป่านั้น โดยมากขนพอง.


    ดูก่อนสารีบุตร เรานั้นแล
    ในราตรีที่หนาว ฤดูเหมันต์ ตั้งอยู่ในระหว่างเดือน ๓ ต่อเดือน ๔ เป็นสมัย
    มีหิมะตก ในราตรีเห็นปานนั้น [เรา] อยู่ในที่แจ้งตลอดคืน กลางวันเราอยู่
    ในแนวป่า ในเดือนท้ายฤดูร้อน กลางวันเราอยู่ในที่แจ้ง กลางคืนเราอยู่ใน
    แนวป่า.

    ดูก่อนสารีบุตร เป็นความจริง คาถาอันน่าอัศจรรย์เล็กน้อยนี้ ที่
    เราไม่ได้ยินมาก่อน ปรากฏแก่เราว่า
    นักปราชญ์ผู้เสาะแสวงหา ความ
    หมดจด อาบแดด อาบน้ำค้าง เป็นคน
    เปลือย ทั้งมิได้ผิงไฟ อยู่คนเดียวในป่า
    อันน่ากลัว.

    ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมสำเร็จการนอนแอบอิงกระดูกศพใน
    ป่าช้า. พวกเด็กเลี้ยงโคเข้ามาใกล้เราแล้ว ถ่มน้ำลายรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรด
    บ้าง โปรยฝุ่นรดบ้าง เอาไม้ยอนที่ช่องหูบ้าง. เราไม่รู้สึกว่า ยังจิตอันลามก
    ให้เกิดขึ้นในพวกเด็กเหล่านั้นเลย. ดูก่อนสารีบุตร นี้แหละเป็นวัตรในการอยู่
    ด้วยอุเบกขาของเรา.

    ดูก่อนสารีบุตร มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะอย่างนี้
    มีทิฐิอย่างนี้ว่า ความหมดจดย่อมมีด้วยอาหาร. พวกเขากล่าวอย่างนี้ว่า พวก
    เราย่อมเยียวยาอัตภาพด้วยอาหารขนาดเท่าผลพุทรา. พวกเขาย่อมเคี้ยวกินผล
    พุทราบ้าง ผลพุทราป่นบ้าง ดื่มน้ำพุทราบ้าง บริโภคผลพุทราที่ทำเป็น
    ชนิดต่าง ๆ บ้าง.

    ดูก่อนสารีบุตร เรารู้สึกว่า กินผลพุทราผลเดียวเท่านั้น.
    ดูก่อนสารีบุตร เธอจะพึงมีความสำคัญว่า พุทราในสมัยนั้น ชะรอยจะผลใหญ่
    เป็นแน่. ข้อนี้ เธอไม่พึงเห็นอย่างนั้น. แม้ในกาลนั้น ผลพุทราที่เป็นขนาดใหญ่
    นั่นเทียวก็เหมือนในบัดนี้ .
    ดูก่อนสารีบุตร เมื่อเรากิน [อาหารเท่า] ผลพุทรา
    ผลเดียวเท่านั้น ร่างกายก็ถึงความซูบผอมยิ่งนัก. อวัยวะน้อยใหญ่ของเราเปรียบ
    เหมือนเถาวัลย์ที่มีข้อมากและข้อดำ เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.
    ตะโพกของเราเปรียบเหมือนรอยเท้าอูฐ เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.
    กระดูกสันหลังของเรานูนขึ้นเป็นปุ่ม ๆ เหมือนเถาสะบ้า เพราะความที่เรามี
    อาหารน้อยนั่นเอง. กระดูกซี่โครงของเราเหลื่อมขึ้นเหลื่อมลงเห็นปรากฏเหมือน
    กลอนแห่งศาลาเก่าเหลื่อมกันฉะนั้น เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.
    ดวงตาของเราลึกเข้าไปในเบ้าตา เหมือนเงาดวงดาวปรากฏในบ่อน้ำอันลึกฉะนั้น
    เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.

    หนังศีรษะของเราอันลมถูกต้องแล้วก็
    เหี่ยวแห้งเปรียบเหมือนน้ำเต้าขมที่ถูกตัดขั้วแต่ยังอ่อนอันลมแดดสัมผัสแล้ว
    ย่อมเป็นของเหี่ยวแห้งไป ฉะนั้น เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.


    ดูก่อนสารีบุตร เรานั้นแลคิดว่าจะลูบคลำผิวหนังท้อง ก็คลำถูกกระดูกสันหลังทีเดียว
    คิดว่าจะลูบคลำกระดูกสันหลัง ก็คลำถูกผิวหนังท้องทีเดียว ดูก่อนสารีบุตร
    ผิวหนังท้องของเราติดกระดูกสันหลัง เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.
    เรานั้นคิดว่า จะถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ ก็ชวนล้ม ณ ที่นั้นเอง เพราะความ
    ที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง. เรานั้นเมื่อจะยังร่างกายให้คล่องแคล่ว ก็ลูบตัวด้วย
    ฝ่ามือ. เมื่อเราลูบตัวด้วยฝ่ามือ ขนทั้งหลายมีรากอันเน่าก็หลุดจากกาย เพราะ
    ความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.


    ดูก่อนสารีบุตร มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะอย่าง
    นี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า ความหมดจดย่อมมีได้ด้วยอาหาร. พวกเขากล่าวอย่างนี้ว่า
    เราย่อมเยียวยาอัตภาพด้วยถั่วเขียว ฯลฯ พวกเราย่อมเยียวยาอัตภาพด้วยงา
    ฯลฯ พวกเราย่อมเยียวยาอัตภาพด้วยข้าวสาร ดังนี้. พวกเขาเคี้ยวกิน
    ข้าวสารบ้าง ข้าวสารป่นบ้าง ดื่มน้ำข้าวสารบ้าง ย่อมบริโภคข้าวสารที่จัดทำ
    ให้แปลกมีประการมิใช่น้อยบ้าง. ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมรู้สึกว่า กินข้าวสาร
    เมล็ดเดียวเท่านั้น. ดูก่อนสารีบุตร เธอจะพึงมีความสำคัญว่า ข้าวสารในสมัย
    นั้น ชะรอยจะเมล็ดใหญ่เป็นแน่.

    ข้อนี้ เธอไม่พึงเห็นอย่างนั้น. แม้ในกาล
    นั้น ข้าวสารที่เป็นขนาดใหญ่นั้นเทียว ก็มีเมล็ดเท่าข้าวสารในบัดนี้.

    ดูก่อนสารีบุตร เมื่อเรากินข้าวสารเมล็ดเดียวเท่านั้น ร่างกายก็ถึงความซูบผอมยี่งนัก.
    อวัยวะน้อยใหญ่ของเรา เปรียบเหมือนเถาวัลย์ที่มีข้อมากและข้อดำ เพราะความ
    ที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง. ตะโพกของเราเปรียบเหมือนรอยเท้าอูฐ เพราะความ
    ที่เรามีอาหารน้อยนั่งเอง.

    กระดูกสันหลังของเรานูนขึ้นเป็นปุ่ม ๆ เหมือนเถา
    สะบ้า เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง. กระดูกซี่โครงของเราเหลื่อมขึ้น
    เหลื่อมลงเห็นปรากฏเหมือนกลอนแห่งศาลาเก่าเหลื่อมกันฉะนั้น เพราะความ
    ที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง. ดวงตาของเราลึกเข้าไปในเบ้าตาเหมือนเงาดวงดาว
    ปรากฏในบ่อน้ำอันลึกฉะนั้น เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.
    หนังศีรษะของเราอันลมถูกต้องแล้ว ก็เหี่ยวแห้งเปรียบเหมือนน้ำเต้าขมที่ถูกตัดขั้ว
    แต่ยังอ่อน อันลมแดดสัมผัสแล้ว ย่อมเป็นของที่เหี่ยวแห้งไปฉะนั้น เพราะ
    ความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.


    ดูก่อนสารีบุตร เรานั้นแลคิดว่าจะลูบคลำผิว
    หนังท้องก็คลำถูกกระดูกสันหลังทีเดียว คิดว่าจะลูบคลำกระดูกสันหลัง ก็คลำ
    ถูกผิวหนังท้องทีเดียว. ดูก่อนสารีบุตร ผิวหนังท้องของเราติดกระดูกสันหลัง
    เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง. เรานั้นคิดว่า จะถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะก็
    ซวนล้ม ณ ที่นั้นเอง เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง เรานั้นเมื่อจะยัง
    ร่างกายให้คล่องแคล่วก็ลูบตัวด้วยฝ่ามือ เมื่อเราลูบตัวด้วยฝ่ามือ ขนทั้งหลาย
    มีรากอันเน่าก็หลุดร่วงจากกาย เพราะความที่เรามีอาหารน้อยนั่นเอง.


    ดูก่อนสารีบุตร ด้วยการปฏิบัติอย่างไม่มีใครสู้แม้นั้น ด้วยปฏิปทาแม้
    นั้น ด้วยความเพียรที่กระทำได้แสนยากนั้น เราก็ไม่ได้บรรลุธรรมอันยิ่งของ
    มนุษย์ที่เป็นญาณทัสสนะอันวิเศษ พอแก่ความเป็นอริยะ ข้อนั้นเพราะเหตุ
    อะไร เพราะมิใช่ปฏิปทาที่เป็นเหตุบรรลุปัญญาอันประเสริฐ ปัญญานี้แล
    ที่ซึ่งเราได้บรรลุแล้วเป็นของประเสริฐ นำสัตว์ออกจากทุกข์ได้ เป็นทางสิ้น
    ทุกข์โดยชอบแห่งบุคคลผู้กระทำอยู่ตามนั้น.

    ดูก่อนสารีบุตร มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะอย่างนี้
    มีทิฐิอย่างนี้ว่า ความหมดจดย่อมมีได้ด้วยสังสารวัฏ.


    แล้วจะรู้สึก เมื่อวันนั้นมาถึง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  7. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ผู้ที่เห็นการบำเพ็ญเพียรทุกกิริยาว่าไร้ค่า ไร้ประโยชน์ พระพุทธเจ้าหลงทาง เป็นผู้ดูหมิ่นปรามาสพระพุทธเจ้า

    ทุกสำนักล่ะ! ที่ตีพิมพ์ในหนังสือทุกเล่นนั่นด้วย และไม่เว้นถ้าใครคิดอย่างนี้ สอนอย่างนี้ ตอนที่พระมหาโพธิสัตว์ ทรงทิ้งพระราชสมบัติออกบำเพ็ญใหม่ๆ มีแต่ผู้คนเห็นท่านเป็นผู้เสียสติ แม้ท่านปรินิพพานไปแล้วก็ยังกล่าวถึงอดีตว่าท่าน เป็นผู้หลงทางปฎิบัติ กระทำโดยไม่รู้ตัวอีก บุคคลผู้นั้นไม่มีทางเจริญในธรรมได้

    อัตตกิลมถานุโยค นี่เป็นวัตรปฎิบัติของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์สำหรับพระพุทธเจ้าของเราท่านทั้งหลายฯได้มาจากการส่งข่ายพระญาณของพระปัจเจกพุทธเจ้า เป็นเหตุแห่งการส่งเสริมให้ได้รับวิบากกรรมในชาติภพนี้ ท่านเคยเรียนและศึกษาไตร่ตรองพระธรรมจาก บุพกรรม ของพระพุทธเจ้าไหม?

    [มหาโคตรแห่งศีล]แล้ว ท่านบำเพ็ญอินทรียธาตุท่าน เพื่อตบะของเหล่าพุทธะ ซึ่งใครก็ทำตามได้ยาก ท่านจึงตรวจดูอุปนิสัยสัตว์โลกแล้ว ว่าคงทำได้เพียงแค่นั้นจึงให้ทางสายกลางมรรค๘ เพราะท่านมีมหาปุริลักษณะ ๓๒ และ อนุพยัญชนะ ๘๐ ซึ่งไม่มีใครเทียบเทียมท่านได้ ไม่อย่างนั้นท่านจะตรัสสอนพระสารีบุตรไว้ทำไม ปริศนาธรรมข้อนี้มีอยู่ ผลมันมีอยู่

    มองโลกให้กว้างๆถึงวัตรปฎิบัติอื่นนอกพระศาสนาในยุคสมัยนั้นด้วย ว่ากว่าจะทรงค้นพบทางพ้นทุกข์นั้น มันต้องลำบากทนทุกข์ทรมานแสนสาหัสมากมายขนาดไหน ท่านจะหมายให้เราลืมพระมหากรุณาธิคุณในข้อนี้

    ทั้งที่พระพุทธเจ้าองค์ในอนาคตกาลก็ต้องมาปฎิบัติอย่างนี้ มิเท่ากลับดูหมิ่นสติปัญญาท่านหรอกหรือ นี่เป็น การประพฤติวัตรพรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้า

    ดูน้ำพระทัยพระองค์เถิดว่าทรงยอมอดอยากเหนื่อยล้ามากเพียงไร? ทำไมถึงเนรคุณพระองค์ท่านได้ ทำไม พิมพ์ไปร้องไห้ไป เฮ้อ!


    ในที่ใด สุนัขได้รับการเลี้ยงดูว่า เราจักได้ก้อนข้าว เราไม่รับภิกษา
    ที่เขาไม่ให้แก่สุนัขในที่นั้นแล้วนำมา เพราะเหตุไร. เพราะว่า สุนัขนั้นจะมี
    อันตรายจากก้อนข้าว.


    มีแมลงวันไต่ตอมเป็นกลุ่ม ๆ ก็ถ้ามนุษย์ทั้งหลายเห็นอเจลกแล้ว คิดว่า เราจักให้ภิกษาแก่
    อเจลกนี้ เข้าไปสู่โรงครัว ก็ครั้นพวกเขาเข้าโรงครัว แมลงวันทั้งหลายที่จับ
    อยู่ที่ปากหม้อข้าวเป็นต้น ก็จะบินไต่ตอมเป็นกลุ่ม ๆ เราไม่รับภิกษาที่เขานำ
    มาจากหม้อข้าวนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่า แมลงวันทั้งหลายจะมีอันตราย
    จากอาหาร เพราะอาศัยเรา แม้เราก็ได้ทำอย่างนั้นแล้ว


    ดูก่อนสารีบุตร อนึ่ง เราย่อมเข้าใจประพฤติพรหมจรรย์
    ประกอบด้วยองค์ ๔ คือ เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะและเป็นเยี่ยมกว่าผู้บำเพ็ญตบะทั้ง
    หลาย เราประพฤติเศร้าหมองและเป็นเยี่ยมกว่าผู้พระพฤติเศร้าหมองทั้งหลาย
    เราเป็นผู้เกลียดบาปและเป็นเยี่ยมกว่าผู้เกลียดบาปทั้งหลาย เราเป็นผู้สงัดและ
    เป็นเยี่ยมกว่าผู้สงัดทั้งหลาย.


    ดูก่อนพระสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลก
    นี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้น
    จะกระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะ
    ทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่ง ด้วยตนเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ โดยสมัยต่อ
    มา เราย่อมเห็นบุคคลนั้นกระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิ
    ได้เพราะอาสาวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญหาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ เสวย
    สุขเวทนาโดยส่วนเดียว

    ดูก่อนสารีบุตร คติ ๕ ประการนี้แล. ดู
    สารีบุตร ผู้ใดพึงว่าซึ่งเราผู้รู้อย่างนี้ ผู้เห็นอยู่อย่างนี้ว่า ธรรมอันยิ่งของ
    มนุษย์ที่เป็นญาณทัสสนะอันวิเศษ พอแก่ความเป็นอริยะของพระสมณโคดม
    ไม่มี พระสมณโคดมทรงแสดงธรรมที่ประมวลมาด้วยความตรึก ที่ไตร่ตรองด้วย
    การค้นคิด แจ่มแจ้งได้เอง ดูก่อนสารีบุตร ผู้นั้นไม่ละวาจานั้นเสียไม่ละ
    ความคิดนั้นเสีย ไม่สละคืนทิฐินั้นเสีย ก็เที่ยงที่จะตกนรก


    ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ เหล่านั้น
    พรหมจรรย์นี้เป็นวัตรในความประพฤติเกลียดบาปของเรา. เรานั้นมีสติก้าวไป
    ข้างหน้า มีสติถอยกลับ. ความเอ็นดูของเราปรากฏเฉพาะ จนกระทั่งในหยด
    น้ำว่า เราอย่าได้ล้างผลาญสัตว์เล็ก ๆ ที่อยู่ในที่อันไม่สม่ำเสมอเลย.


    ดูก่อนสารีบุตร นี้แหละเป็นวัตรในความประพฤติเกลียดบาปของเรา.
    ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ นั้น พรหมจรรย์นี้เป็นวัตรในการประพฤติเศร้าหมองของเรา. มนทิน คือ ธุลีละอองสั่งสมในกาย เรานับด้วยปีมิใช่น้อย จนเป็นสะเก็ด เปรียบเหมือนตอตะโก มีธุลีละอองสั่งสมนับด้วยปีมิใช่น้อย จนเกิดเป็นสะเก็ด ฉันใด มนทิน คือ ธุลีละอองสั่งสมในกายเรานับด้วยปีมิใช่น้อย จนเกิดเป็นสะเก็ด ฉันนั้นเหมือนกันกัน.

    ดูก่อนสารีบุตร เรามิได้คิดที่จะลูบคลำปัดละอองธุลีนี้ด้วยฝ่ามือ ดูก่อน
    สารีบุตร ความคิดแม้อย่างนี้ไม่ได้มีแก่เราเลย ดูก่อนสารีบุตร นี้แหละ เป็น
    วัตรในความประพฤติเศร้าหมองของเรา.



    ถ้าจะไปเพียงพระองค์ก็จะสามารถไปได้ แต่จะไม่ประเสริฐ ไม่เป็นอริยะ เพราะนำสัตว์ออกจากทุกข์ไม่ได้ คือช่วยสัตว์อื่น!

    ดูก่อนสารีบุตร ด้วยการปฏิบัติอย่างไม่มีใครสู้แม้นั้น ด้วยปฏิปทาแม้
    นั้น ด้วยความเพียรที่กระทำได้แสนยากนั้น เราก็ไม่ได้บรรลุธรรมอันยิ่งของ
    มนุษย์ที่เป็นญาณทัสสนะอันวิเศษ พอแก่ความเป็นอริยะ ข้อนั้นเพราะเหตุ
    อะไร เพราะมิใช่ปฏิปทาที่เป็นเหตุบรรลุปัญญาอันประเสริฐ ปัญญานี้แล
    ที่ซึ่งเราได้บรรลุแล้วเป็นของประเสริฐ นำสัตว์ออกจากทุกข์ได้ เป็นทางสิ้น
    ทุกข์โดยชอบแห่งบุคคลผู้กระทำอยู่ตามนั้น.


    ขอเตือนด้วยความรักและหวังดี

    บุคคลทั้งหลายที่เขียนและแต่งเติมประโยคเหล่านั้นมีความเห็นผิด เพราะไม้รู้จักมหาวัฎรปฎิบัติ ไปว่าพระพุทธเจ้าหลงอีกแล้ว ท่านก็ยังบอกว่านี่เป็นวัฎรปฎิบัติของท่านเอง ด้วยเป็นผู้มีมหาปุริลักษณะ สุดยอดอินทรียธาตุเวรกรรม หลงผิดกันหมด สอนก็ผิด
    เรื่องฌานก็สอนผิด ไม่เห็นความสำคัญในฌาน อันผู้เจริญควรทำให้มากขึ้นจนถึงที่สุดในฌาน
    สงสัยไม่เรียนชาดก หรือเรียนมาแล้วแต่ตีความไม่แตก ไม่รู้ว่าท่านบำเพ็ญเพียรเพื่ออะไร?

    แด่คนโง่ไม่รู้จักมหาวัฎร และเนรคุณพระพุทธเจ้า ทั้งที่พระองค์ทรงบอกแล้วว่าคนฉลาดๆย่อมไม่ทำอะไร?ในเรื่องที่มันดูโง่ๆ



    ถ้าจะไปเพียงพระองค์ก็จะสามารถไปได้ แต่จะไม่ประเสริฐ ไม่เป็นอริยะ เพราะนำสัตว์ออกจากทุกข์ไม่ได้ คือช่วยสัตว์อื่น!

    ไปศึกษาเสียเถิดว่า พระพุทธเจ้าองค์ต้องไปก็ต้องทรงต้องบำเพ็ญเพียรมหาวัฎรนี้ นี่จึงเป็นนิรุตติญานทัสสนะของเรา ที่นำธรรมอันกระจ่างมาปลดเปลื้องภาระให้แก่หมู่ชนที่หลงผิด

    อีกอย่างก็ไม่ได้พิจารณามหาปรินิพพาน โดยอาการเสด็จฌานนั้นด้วย ที่ท่านทรงพิจารณาเลิกอาการนั้นเพราะท่านจะเข้าสู่พระนิพพานเพียงรูปเดียวต่างหาก พระอินทร์เลยมาทูลขอมรรค๘ ท้าวสหัมบดีพรหมทูลอาราธพระธรรม

    ด้วยบารมีของพระองค์จะสำเร็จธรรมอย่างสาวกแบบ ท่านที่เฉียดตายอดอยากทั้งหลายฯนั้น ง่าย และจะไปเร็วๆแบบพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆหรือพระปัจเจกพุทธเจ้าที่สำเร็จโพธิญานปุ๊ป แล้วดับขันธปรินิพพานเลยเป็นเรื่องง่ายมาก

    ไม่แปลกใจหรอกที่วัตรปฎิบัติจึงอ่อนนัก อ่อนจนสู้พระสงฆ์สาวกผู้อยู่ในสารคุณ และเหล่าเดียร์ถีย์นอกพระพุทธศาสนาไม่ได้ และอีกทั้งไม่มีปัญญาความสามารถในการถือนิสสัย๔ ในปัจจุบัน เพราะรักความสุขสบายเป็นอามิสทายาท ที่เนรคุณ
    https://youtu.be/QxPyyCvynLA
    สาธุธรรม ขออนุโมทนาบุญฯ ในเรื่องนี้ ขอท่านทั้งหลายจงไปทำความเข้าใจใหม่ ให้รู้ถึงน้ำพระทัยอันมากล้น ของพระมหากรุณาธิคุณ ขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อความสุข ความเจริญในธรรมต่อไป ตามข้อนี้ที่เราได้น้อมนำศรัทธามาแสดงนั้นเถิด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2016
  8. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    หลายสำนักและหลายบริษัท๔ ที่ล้วนมีแต่ความเข้าใจผิดว่า พระมหาโพธิสัตว์ทรงหลงทางการปฎิบัติ กล่าวหาว่าท่านไม่รู้เรื่อง ไม่ดีอย่างนั้นอย่างนี้ ไม่เคยมีเลยที่เราจะเห็นผู้ใดสรรเสริญการปฎิบัติบำเพ็ญเพียรนั้นๆ ไม่เคยรู้เลยว่านั้นคือหน้าที่ของพระองค์ท่านผู้ค้นหาบำเพ็ญอินทรีย์ธาตุ และกระทำไปด้วยเพราะได้บุพกรรมที่ทำไว้ในอดีตชาติมาส่งเสริม


    ท่านเคยได้ตรัสไว้แล้วตอนที่เสวยพระชาติเป็นพระมโหสถ ทรงตรัสเป็นทางเดียวว่า "ว่าเป็นไปไม่ได้ที่คนฉลาดๆ จะไปทำเรื่องอะไรที่มันดูโง่ๆ "

    ถ้าไปคิดอย่างนั้นเข้า ก็เท่ากับไปปรามาสพระบารมีที่สั่งสมมาในพระ ปัญญาบารมี อีกด้วย

    มารก็ละอาย เทวดาเหล่าพรหม เมื่อมองเห็น พระมหาบุรุษ ก็ละอายใจที่เอาแต่เสวยสุข จนลืมตน


    และที่สำคัญ บุคคลเช่น อุปกาชีวก นั้น มีบุญที่ได้พบพระพุทธเจ้ามาก และอาจจะได้บุพกรรมนี้ส่งเสริมในภพชาติต่อไป เสมือนพระพุทธเจ้าของเรานี้แลฯ


    เรื่องอุปกาชีวก
    [๑๑] อาชีวกชื่ออุปกะได้พบพระผู้มีพระภาคเสด็จดำเนินทางไกลระหว่างแม่น้ำคยาและ
    ไม้โพธิพฤกษ์ ครั้นแล้วได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า ดูกรอาวุโส อินทรีย์ของท่านผ่องใส
    ยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง ดูกรอาวุโส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของ
    ท่าน? หรือท่านชอบธรรมของใคร?. เมื่ออุปกาชีวกกราบทูลอย่างนี้แล้ว. พระผู้มีพระภาค
    ได้ตรัสพระคาถาตอบอุปกาชีวกว่าดังนี้
    เราเป็นผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง รู้ธรรมทั้งปวง
    อันตัณหาและทิฏฐิไม่ฉาบทาแล้ว ในธรรมทั้งปวง
    ละธรรมเป็นไปในภูมิสามได้หมด พ้นแล้วเพราะ
    ความสิ้นไปแห่งตัณหา เราตรัสรู้ยิ่งเองแล้ว จะพึง
    อ้างใครเล่า อาจารย์ของเราไม่มี คนเช่นเรา
    ก็ไม่มี บุคคลเสมอเหมือนเราก็ไม่มี ในโลกกับ
    ทั้งเทวโลก เพราะเราเป็นพระอรหันต์ในโลก
    เราเป็นศาสดา หาศาสดาอื่นยิ่งกว่ามิได้ เราผู้เดียว
    เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ เราเป็นผู้เย็นใจ ดับกิเลส
    ได้แล้ว เราจะไปเมืองในแคว้นกาสี เพื่อ
    ประกาศธรรมจักรให้เป็นไป เราจะตีกลองประกาศ
    อมตธรรมในโลกอันมืด เพื่อให้สัตว์ได้ธรรมจักษุ.
    อุปกาชีวกทูลว่า ดูกรอาวุโส ท่านปฏิญาณโดยประการใด ท่านควรเป็นผู้ชนะหาที่สุด
    มิได้ โดยประการนั้น.
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า บุคคลเหล่าใดถึงความสิ้นอาสวะแล้ว บุคคลเหล่านั้นชื่อว่า
    เป็นผู้ชนะเช่นเรา ดูกรอุปกะ เราชนะธรรมอันลามกแล้ว เพราะฉะนั้นเราจึงชื่อว่าเป็นผู้ชนะ.
    เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว อุปกาชีวกทูลว่า เป็นให้พอเถิด พ่อ ดังนี้ แล้ว
    สั่นศีรษะ ถือเอาทางผิดเดินหลีกไป.
    เรื่องอุปกาชีวก จบ


    เพราะต้องการเสวยลาภ สักการะ ใช้ชีวิตความเป็นอยู่ที่สุขสบาย และไม่เข้าใจ จึงแปลคำว่า ปฎิรูปเทส มาผิดๆ คือตั้งใจจะเอาสบายอย่างเดียวอย่างนั้นแล เลยมีพุทธบริษัทถูกต้มจนสุกและเปื่อยไปเลย เฮ้อ!
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ถึงเวลาเราจะไป ใครก็ขวางไม่ได้ เมื่อได้ทั้ง ปริยัติที่ควร ปฎิบัติที่ควร ปฎิเวธที่ควรแก่ตนเอง เราจะสะสางตามภาระหน้าที่ของเรา

    " ดอกบัว กอบัว เกิดขึ้นในสระ บานแล้วถูกหมู่แมลงภู่เคล้าคลึง ก็เข้าถึงความร่วงโรย บุคคลรู้แจ้งข้อนี้แล้ว พึงเป็นผู้เที่ยวไปเหมือนนอแรด "
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    เหตุของการกำเนิด มรรค ๘ คือทางสายกลาง
    ไม่อย่างนั้นจะเหมือนภัทรกัปป์ก่อนๆที่เสด็จมาตรัสรู้ แล้วเสด็จเข้าสู่พระนิพพานเลย ไม่ทรงสั่งสอนมากจึงเป็นเหตุพระพุทธศาสนาอยู่ไม่ได้นาน
    เพราะจริตของเหล่าเวไนยสัตว์ไม่พร้อมกับการบรรลุธรรมอันละเอียดอ่อนนี้
    อัตตกิมถานุโยค..มาเดินทางสายกลางแทน [พระพุทธเจ้า]อดีตก่อนการตรัสรู้ของ พระมหาโพธิสัตว์ทรงมี พระมหาปุริลักษณะ ๓๒ อนุพยัญชนะ ๘๐ เป็นสุดยอดอินทรียธาตุ สำหรับบำเพ็ญมหาวัฏร ของเหล่าพุทธะ คือเป็นวัตรที่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องทรงบำเพ็ญ
    หลังจากก่อนการตรัสรู้ ที่พระอินทร์ทูลขอเรื่องมรรค ๘ และหลังการตรัสรู้ ท้าวสหัมบดีพรหมขอทูลอราธนาธรรมอีกครั้ง
    จึง
    ทรงตรวจดูอุปนิสัยมนุษย์ และร่างกายที่สุดแสน จะธรรมดาล่วงหน้า ๕๐๐๐ปีโดยประมาณ จึงพิจารณามรรค ๘ อันเป็นทางสายกลางให้ เพราะทรงได้พิจารณาแล้ว ว่าหนักกว่านั้นคงไม่ไหว จะทำให้เผยแผ่ศาสนาได้ยาก
    พระพุทธองค์ ทรงลองทรมานกายมาถึง6ปี เป็นเพราะได้บุพกรรมส่งเสริม
    จึงทรงประกาศพระสัทธรรมสร้างพระพุทธศาสนา นับตั้งแต่กาลบัดนั้นมาจนมาถึงทุกๆวันนี้

    พวกอ่อนๆที่สู้แม้แต่วัฎรปฎิบัติของ พวกเดียร์ถีย์ เป็นอามิสทายาทต่างหาก ที่ปกปิดหลอกลวงผู้อื่นมาโดยตลอด ดูหมิ่นพระพุทธเจ้า ธรรมดาสติปัญญาของพวกปุถุชน ที่หาว่าพระพุทธเจ้าโง่และหาว่าท่านหลง ตีความไม่แตก แปลงเหตุปัจจัยให้ได้พบในบุพกรรมในดวงเจตสิกในพระอภิธรรมยังไม่เป็นเลย มาวิสัชชนาข้อนี้ ของเรา จึงเป็นผู้หลงไปอีกนาน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  11. jityim

    jityim เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    3,429
    ค่าพลัง:
    +3,209
    จากความเข้าใจของตนเองแล้ว มรรค 8 เป็นการปฏิบัติที่ย้อนทวนกระแสโลก
    หรือ ทวนกระแสแห่งตัณหา ไม่ไหลไปตามกระแสโลก เป็นการปฏิบัติที่สละ
    ตัวตน ไม่หลงพันพัวในกิเลสตัณหาทั้งหลาย และ เป็นผู้ให้ตามหน้าที่ของตน
    ด้วยความบริสุทธิ์ไม่หวังสิ่งใดตอบแทน คือ มีพรหมวิหารเป็นขึ้นพื้นฐาน
    จึงเป็นผู้ที่จะปฏิบัติตามมรรคแปด ศีล สมาธิ ปัญญา ได้จริง ๆ

    ส่วนการหมุนธรรมจักร กลับด้าน มาย้อนอ่านอีกที จึงเข้าใจ ว่าถ้าคนใด
    ไม่หมุนธรรมจักร หรือ ดำเนินไปตามธรรม ก็ จะเป็นการหมุนกรรมจักรแทน
    ไม่ทำไปตามธรรม ก็ต้อง หมุนไปตามกรรมแทน

    ด้วยสติปัญญาอันน้อยนิดจึงมีการถามขึ้นเพื่อจะได้รู้เห็นว่าผู้บำเพ็ญบารมี
    มีความคิดเห็นเป็นเช่นไรค่ะ

    และ ลอยถาดบุคลาธิษฐาน กับ การย้อนรอยทางเดิมไปสู่นิพพานของพระพุทธเจ้า
    ในปีสุดท้ายที่พระองค์ปรินิพพาน ในระยะเวลา 3 เดือน สุดท้ายก็เพื่อย้อน
    ทวนกลับในจิตของพระองค์เอง ความเห็นส่วนตัว....ค่ะ

    หากหวังนิพพานแล้วไม่ย้อนทวนกระแสโลก ทวนกระแสอารมณ์ไม่ให้ไหลไป
    ตามโลกก็คงเป็นเรื่องยากค่ะ
     
  12. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สงครามพระเริ่มต้นขึ้นแล้ว เมื่อสำนักวัดนาป่าพง นำโดยอลัชชี คึกฤทธิ์ ส่งศิษยานุศิษย์สมุนในสำนัก กล่าวประกาศ ถ้าสำนักวัดนาป่าพงแสดงธรรม"พุทธวจน"ณ ที่ใด จังหวัดใด ไม่ได้ ที่นั่นต้องเจอกับนรกหนึ่งกับป์ ในข้อหา ขัดขวางการแสดงธรรมของ ผู้สำเร็จธรรมที่เลิศเลอประเสริฐศรีที่สุดในสามแดนโลกธาตุ ประกาศตนจะเอาหนังสือ พุทธวจน มาแทนพระไตรปิฏกทุกเล่มในประเทศและในโลก หนังสือพระไตรปิฏกของเก่าที่มีอยู่ต้องโล๊ะทิ้งให้หมดเพราะมีคำปลอมคำแต่งใหม่ ประกาศตนเป็นสำนักเดียวในประเทศที่รู้พระสัทธรรมที่แท้จริง เอาล่ะสิทีนี้ ชาวพุทธบริษัททั้งหลายฯ ที่ที่สอนธรรมะให้คนรู้ธรรมได้คงมีที่ดีที่เดียวแน่ๆ ไม่อย่างนั้นเชิญลงนรก เชิญตรวจสอบพิสูจน์ป้องกัน การเผ่ยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จด้วยกันครับ


    Phongsophon Donse Paripunnho Bhikkhu
    สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้สังคมเห็นความจริงอะไร?
    เมื่อพระเถระผู้ใหญ่ สั่งปลดเจ้าอาวาสวัด
    ผู้เผยแผ่คำสอนพระพุทธเจ้า

    สั่ง "ห้าม!?!" เผยแผ่ "คำสอนของพระพุทธเจ้า!?!"

    การกระทำแบบนี้ ยังจะเรียกตนเองว่า
    "ภิกษุสงฆ์ ผู้เดินตามพระพุทธเจ้าได้อยู่หรือ??"
    เป็นคำถามที่น่าสนใจ

    ------------------------
    เยี่ยมยอดที่สุด ชาวไทย
    ชาวพุทธ ตาสว่างกันได้แล้วนะโยมนะ

    มีคำสั่งห้ามพระ เผยแผ่ "พุทธวจนะ"
    เพราะ ขัดกับหลักจริยา?? อะไร?ของใคร?
    ขัดกับประเพณี??

    ผู้ห่มผ้าเหลือง จำนวนมาก แถวขอนแก่น
    ณ เวลานี้ ออกมาประกาศตนแล้วนะ

    ว่า ห้าม!! ไม่ให้พระ! เผยแผ่ "พุทธวจนะ"

    ความหมายง่ายๆก็คือว่า

    ห้าม! ไม่ให้พระเผยแผ่ "คำสอนของพระพุทธเจ้า!!!"

    นรก 1 กัป ขอให้ผู้ห่มผ้าเหลือง บริเวณขอนแก่น
    เตรียมตัวเตรียมใจให้ดีนะ
    แล้วอย่ามาเสียใจภายหลัง

    ส่วนชาวพุทธก็ตาสว่างกันเสียที
    มามีปัญญากันเสียทีว่า

    ตนเองมีความเชื่อ ในพระพุทธเจ้า
    หรือ ไม่ได้ศรัทธา เชื่อในพระพุทธเอาให้ดีๆ เอาให้ตรงๆ

    เป็นคนไม่มีศาสนาก็ให้รู้ว่าตัวเองไม่มี
    จะได้ค่อยๆศึกษา

    อย่ามาทำให้พุทธศาสนาแปดเปื้อนไปมากกว่านี้เลย

    ไม่เชื่อ ไม่ศรัทธาในพระพุทธเจ้า
    ไม่สามารถว่ากันได้

    แต่สิ่งที่รับไม่ได้คือ ไม่เชื่อ
    ไม่ต้องการทำตามที่ศาสดาบัญญัติ
    แต่ยัง "เป็นสมณะแกลบ"
    เป็นสมณะเน่าใน เปียกแฉะ
    มีสัญชาติหมักหมม เหมือนบ่อ
    ที่เทขยะมูลฝอย ไม่ใช่สมณะ
    ก็กล่าวว่าเป็นสมณะ

    ที่ใส่ผ้าเหลือง เอาเครื่องแบบ
    ของพระในศาสนาพุทธ มาหลอกโยมไปวันๆ
    ใส่ผ้าเหลือง ขโมยเครื่องแบบ
    ไม่รู้จะสรรหาคำไหนมากล่าว

    ทางที่ถูกคืออะไร??

    ให้พวกใส่ผ้าเหลืองกลุ่มนี้ ถอดผ้าออกซะ

    ให้ไปตั้งศาสนาใหม่ไป
    อย่ามาแอบอ้างพุทธหากิน

    โยมก็ต้องมาศึกษาสิ่งที่ถูกบ้างนะ
    เพื่อจะได้ไม่สนับสนุนสิ่งผิด
    ไม่โง่เขลางมงาย อย่างที่เราเคยถูกพระบางส่วนสอนมา
    สอนมาให้เป็นผู้สวด สวดบาลีเก่งๆ

    ไม่ต้องรู้เรื่อง แล้วมันจะไปได้ประโยชน์อะไร
    เรื่องง่ายๆ ที่อาตมางงมาก
    ว่าทำไมคนทั่วประเทศ ชาวพุทธ
    ไร้ซึ่งปัญญาขนาดนี้

    อาตมาไม่ได้ว่า แต่มันปรากฏเช่นนั้นจริงๆ
    เอาความจริงมาพูด

    ก็ขออนุญาตเพียงเท่านี้ สำหรับวันนี้

    สาธุ
    เจริญพร
     
  13. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    "จากอดีตจนมาถึงวันนี้ ตรวจสอบดูครับ ว่า สำนักวัดนาป่าพง นำโดย ไอ้คึกฤทธิ์ศาสดาลัทธิสัทธรรมปฎิรูป และเหล่าสมุนเบ๊ในสำนัก พวกมันได้คัดค้าน มหาจัตตารีสกสูตร ไปกี่อย่างแล้ว นี่ล่ะครับ ! จะไม่ให้ด่ามันได้ยังไง พระพุทธเจ้าทรงให้ด่าให้ตำหนิติเตียนได้ตามความพอใจเลยครับ มีเท่าไหร่ก็ใส่เลย ไอ้คนอกตัญญคว่ำบาตรแม่ลบหลู่คุณครูบาอาจารย์อย่างนั้น"

    "ผู้ถึงฐานะที่ควรตำหนิ"

    {O}มหาจัตตารีสกสูตร{O}

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็น
    ประธาน ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ
    รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มิจฉาทิฐิเป็นไฉน คือ ความเห็นดังนี้ว่าทานที่ให้แล้ว ไม่มีผล ยัญที่บูชาแล้ว ไม่มีผล สังเวยที่บวงสรวงแล้ว ไม่มีผลผลวิบากของกรรมที่ทำดีทำชั่วแล้วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดาไม่มีบิดาไม่มี สัตว์ที่เป็นอุปปาติกะไม่มี สมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ดำเนินชอบ ปฏิบัติชอบ ซึ่งประกาศโลกนี้โลกหน้าให้แจ่มแจ้ง เพราะรู้ยิ่งด้วยตนเอง ในโลกไม่มีนี้มิจฉาทิฐิ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สัมมาทิฐิเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลายเรากล่าวสัมมาทิฐิเป็น ๒ อย่าง คือ สัมมาทิฐิที่ยังเป็นสาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขันธ์ อย่าง ๑ สัมมาทิฐิของพระอริยะ ที่เป็นอนาสวะ เป็นโลกุตระเป็นองค์มรรค อย่าง ๑ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัมมาทิฐิที่ยังเป็นสาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขันธ์ เป็นไฉน คือ ความเห็นดังนี้ว่า ทานที่ให้แล้ว มีผล ยัญที่บูชาแล้ว มีผล สังเวยที่บวงสรวงแล้ว มีผล ผลวิบากของกรรมที่ทำดี ทำชั่วแล้วมีอยู่ โลกนี้มี โลกหน้ามี มารดามี บิดามี สัตว์ที่เป็นอุปปาติกะมี สมณพราหมณ์ทั้งหลาย ผู้ดำเนินชอบ ปฏิบัติชอบ ซึ่งประกาศโลกนี้โลกหน้าให้แจ่มแจ้งเพราะรู้ยิ่งด้วยตนเอง ในโลก มีอยู่ นี้สัมมาทิฐิที่ยังเป็นสาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขันธ์ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง พึงสำคัญที่จะติเตียน คัดค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะนี้ การกล่าวก่อนและการกล่าวตามกัน ๑๐ ประการ อันชอบด้วยเหตุของสมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมถึงฐานะน่าตำหนิในปัจจุบันเทียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้พวกอัสสะและพวกภัญญะชาวอุกกลชนบท ซึ่งเป็นอเหตุกวาทะ อกิริยวาทะ นัตถิกวาทะ ก็ยังสำคัญที่จะไม่ติเตียน ไม่คัดค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะ นั่นเพราะเหตุไร เพราะกลัวถูกนินทา ถูกว่าร้าย และถูกก่อความ ฯ

    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี
    พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

    จบ มหาจัตตารีสกสูตร ที่ ๗
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ข่าวประชาสัมพันธ์การจัดงานวันที่ 24 มีนาคม โดยพุทธวจนสถาบันขอนแก่น
    https://youtu.be/_w3MaP3m3mY

    นี่หรือ คือ ผู้ ปฎิบัติตาม " พุทธวจน " แค่นี้ก็หนีหัวซุกหัวซุนแล้ว ช่างน่าอับอาย
    หนีแบบหมาเน่าขี้เรื้อนเต็มไปด้วยเสนียดจัญไร หาใช่ช้างศึกเข้าสู่สนามรบไม่
    ไหนว่าปฎิบัติตามคำพระศาสดาไง หนีไปตั้งรกรากที่อื่นทำไม ไม่สงสารชาวบ้านที่เขาจักไม่รู้ธรรมอันเลิศเลอของสำนักตนหรือ
    สถานที่ไม่เที่ยง ฮ่าๆ อยากจะหัวร่อนัก


    {O}พระอานนท์ทูลให้เสด็จไปนครอื่นก็ไม่เสด็จไป{O}
    ท่านพระอานนท์สดับคำนั้นแล้ว ได้กราบทูลคำนี้กะพระศาสดาว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ชาวนครเหล่านี้ ย่อมด่า ย่อมบริภาษเราทั้งหลาย, เราทั้งหลายไปในที่อื่นจากพระนครนี้เถิด."
    พระศาสดา. ไปไหน อานนท์?
    พระอานนท์. สู่นครอื่น พระเจ้าข้า.
    พระศาสดา. เมื่อมนุษย์ทั้งหลายในที่นั้น ด่าอยู่ บริภาษอยู่, เราจักไปในที่ไหนอีก อานนท์?
    พระอานนท์. สู่นครอื่นแม้จากนครนั้น พระเจ้าข้า.
    พระศาสดา. เมื่อมนุษย์ในที่นั้น ด่าอยู่ บริภาษอยู่ เราทั้งหลายจักไปในที่ไหน (อีก) เล่า อานนท์?
    พระอานนท์. สู่นครอื่นแม้จากนครนั้น (อีก) พระเจ้าข้า.
    พระศาสดา. อานนท์ การทำอย่างนั้นไม่ควร อธิกรณ์เกิดขึ้นในที่ใด
    เมื่อมันสงบแล้วในนั้นนั่นแหละ การไปสู่ที่อื่นจึงควร, อานนท์ ก็เขาพวกไหนเล่า ย่อมด่า?
    พระอานนท์. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ชนทั้งหมดจนกระทั่งทาสและกรรมกร ย่อมด่า.
    พระศาสดาทรงอดกลั้นคำล่วงเกินได้
    พระศาสดาตรัสว่า "อานนท์ เราเป็นเช่นกับช้างที่เข้าสู่สงคราม การอดทนต่อลูกศร
    ที่แล่นมาจาก ๔ ทิศเป็นภาระของช้างที่เข้าสู่สงครามฉันใด,
    ชื่อว่าการอดทนถ้อยคำที่ชนทุศีลแม้มากกล่าวแล้ว เป็นภาระของเราฉันนั้นเหมือนกัน"
    เมื่อทรงปรารภพระองค์แสดงธรรม ได้ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ในนาควรรคว่า :-
    ๑.อหํ นาโคว สงฺคาเม จาปาโต ปติตํ สรํ
    อติวากฺยนฺติติกฺขิสฺสํ ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน.
    ทนฺตํ นยนฺติ สมิตึ ทนฺตํ ราชาภิรูหติ
    ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ โยติวากฺยนฺติติกฺขติ.
    วรมสฺสตรา ทนฺตา อาชานียา จ สินฺธวา
    กุญฺชรา จ มหานาคา อตฺตทนฺโต ตโต วรํ.
    เราจักอดกลั้นคำล่วงเกิน เหมือนช้างอดทนต่อลูกศร
    ที่ตกจากแล่งในสงครามฉะนั้น, เพราะชนเป็นอันมากเป็นผู้ทุศีล.
    ชนทั้งหลาย ย่อมนำสัตว์พาหนะที่ฝึกแล้วไปสู่ที่ประชุม
    พระราชาย่อมทรงสัตว์พาหนะที่ฝึกแล้ว, บุคคลผู้อดกลั้นคำล่วงเกินได้ ฝึก (ตน) แล้ว
    เป็นผู้ประเสริฐในมนุษย์ทั้งหลาย,ม้าอัสดร ๑ ม้าสินธพผู้อาชาไนย ๑ ช้างใหญ่ชนิดกุญชร ๑
    ที่ฝึกแล้วย่อมเป็นสัตว์ประเสริฐ แต่บุคคลที่มีตนฝึกแล้วย่อมประเสริฐกว่า (สัตว์พิเศษนั้น).

    -------------------------------------------------------------------
    อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท นาควรรคที่ ๒๓
    นาควรรควรรณนา ๑. เรื่องของพระองค์
    คึกโดน{ธาตุทัณฑ์}และใกล้จะตายแล้ว รอยยิ้มภายนอกไม่สามารถปิดบังความเจ็บปวดรวดร้าวภายในได้หรอกคึกเอ๊ย! ทำเป็นห่อผ้าเหมือนหมาหนาว เล่นผีผ้าห่มมาเชียว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    รักษาศีล 2,400 ข้อ แต่นี้รถใครหว่า! อาบัติไม่กินคึก จะไปกินหมาตัวไหน! จริงๆมันก็ขาดจากความเป็นพระแล้วน่ะนะไอ้คึกน่ะ ต้องปาราชิกไปแล้ว หรือมึงจะอ้างว่า ป่วยตลอดชาติ แดกยาตลอดชีวิต เจ็บ-วยป่วยตาข้าวปลาแดกได้ ไอ้คึก กระเสาะกระแสะอ่อนแอ สำออยจริงๆนะมึง หมอเขาไปรักษาก็เสือกไปลวนลามเขา เลวจัญไร

    พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๕. จัมมขันธกะ] ๑๕๓. ยานาทิปฏิกเขปะ
    ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ
    พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงโดยสารยานพาหนะ รูปใดโดยสาร ต้องอาบัติทุกกฏ”
    ต่อมา ภิกษุรูปหนึ่งเดินทางไปกรุงสาวัตถี ในแคว้นโกศล เพื่อจะเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเป็นไข้ในระหว่างทาง จึงแวะไปนั่งอยู่ที่โคนไม้ต้นหนึ่ง คนทั้งหลายพบภิกษุรูปนั้นจึงถามว่า “พระคุณเจ้าจะไปไหน ขอรับ”
    ภิกษุตอบว่า “โยมทั้งหลาย อาตมาจะไปกรุงสาวัตถีเพื่อเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค”คนเหล่านั้นกล่าวว่า “นิมนต์มาเถิด พระคุณเจ้า เราจะไปด้วยกัน”ภิกษุตอบว่า “อาตมาเป็นไข้ ไปไม่ได้”
    คนทั้งหลายกล่าวว่า “นิมนต์มาขึ้นยานพาหนะเถิด พระคุณเจ้า”

    ภิกษุตอบว่า “อย่าเลย พระผู้มีพระภาคทรงห้ามโดยสารยานพาหนะ” ยำเกรงอยู่ไม่ยอมขึ้นยาน พอไปถึงกรุงสาวัตถีจึงบอกเรื่องนั้นให้ภิกษุทั้งหลายทราบ
    ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ
    พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเรื่องนี้เป็นต้นเหตุ รับสั่งกับภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตยานพาหนะสำหรับภิกษุผู้เป็นไข้”
    เรื่องยานพาหนะเทียมด้วยโคเพศผู้และยานพาหนะที่ใช้มือลาก
    ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายได้มีการสนทนากันดังนี้ว่า “ยานพาหนะที่ทรงอนุญาตนั้นเทียมโคเพศเมียหรือโคเพศผู้”
    ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ
    พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตยานพาหนะที่เทียมโคเพศผู้๑ ยานพาหนะที่ใช้มือลาก”

    เชิงอรรถ :
    ๑ คนที่ลากยานพาหนะจะเป็นบุรุษหรือสตรีก็ได้ (วิ.อ. ๓/๑๕๓/๑๖๘) ภิกษุขี่ยานพาหนะประเภทนี้ ไม่ต้อง
    อาบัติ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ทำไมโง่จุงเบย ไอ้พวกสำนักวัดนาป่าพง กรรมใดส่งเสริมมา อยากรู้จะได้คอยบอกคอยเตือนคนอื่น ว่าอย่าไปทำกรรมแบบนั้นด้วย
    ไอ้พวกอามิสทายาทหน้าไหนมันบอก ภาษิตของพระอัครสาวกสารีบุตร ฟังไม่ได้ แสดงว่าไอ้พวกหน้านั้น มันไม่ใช่ธรรมทายาทที่แท้จริง
    คึกน่ะสิ! คึกน่ะสิ! หลอกลวงชาวบ้านชาวเมืองมาตั้งนาน ไอ้พวกนั้นก็โง่ให้ให้ไอ้คึกหลอก ให้ไปเลี้ยงควายพามันไปกินหญ้า ควายมันยังอดตายเลย เพราะไอ้คนเลี้ยงมันโง่ มันไม่รู้จักหญ้า พาควายเดินท่องทุ่งจนตาย "

    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=12&A=385&Z=516

    {O}ธรรมทายาทสูตร{O}

    ว่าด้วยทายาทแห่งธรรม
    ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้

    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า

    ดูกรภิกษุ
    ทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า พระเจ้าข้า ดังนี้.พระผู้มีพระภาคตรัสพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด อย่าเป็นอามิสทายาทของเราเลย เรามีความเอ็นดูในพวกเธออยู่ว่า ทำอย่างไรหนอสาวกทั้งหลายของเราจะพึงเป็นธรรมทายาท จะไม่พึงเป็นอามิสทายาท

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าพวกเธอจะพึงเป็นอามิสทายาทของเรา ไม่เป็นธรรมทายาทไซร้ ด้วยความที่พวกเธอเป็นอามิสทายาท ไม่เป็นธรรมทายาทนั้น ทั้งพวกเธอ ทั้งเราพึงถูกวิญญูชนติเตียนได้ว่า พวกสาวกของพระศาสดาพากันเป็นอามิสทายาท ไม่เป็นธรรมทายาท

    ดูกรภิกษุทั้งหลายถ้าพวกเธอพึงเป็นธรรมทายาทของเรา ไม่เป็นอามิสทายาทไซร้ ด้วยความที่พวกเธอเป็นธรรมทายาทไม่เป็นอามิสทายาทนั้น ทั้งพวกเธอทั้งเราไม่พึงถูกวิญญูชนติเตียนว่า พวกสาวกของพระศาสดาพากันเป็นธรรมทายาท ไม่เป็นอามิสทายาท เพราะเหตุนั้นแล ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอทั้งหลายจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด อย่าเป็นอามิสทายาทเลย เรามีความเอ็นดูในพวกเธออยู่ว่าทำอย่างไรหนอ สาวกทั้งหลายของเราพึงเป็นธรรมทายาท ไม่พึงเป็นอามิสทายาท.

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเราบริโภคเสร็จ อิ่มหนำสำราญเป็นอันดีเพียงพอแก่ประโยชน์แล้ว แต่บิณฑบาตของเรายังมีเหลืออยู่ อันจำต้องทิ้ง ในเวลานั้น ภิกษุสองรูปอันความหิวและความถอยกำลังครอบงำแล้วพากันมา เราพึงกล่าวกะเธอทั้งสองนั้นอย่างนี้ว่า

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราบริโภคเสร็จ อิ่มหนำสำราญเป็นอันดี เพียงพอแก่ประโยชน์แล้ว แต่บิณฑบาตนี้ของเรายังมีเหลืออยู่ อันจำต้องทิ้ง ถ้าเธอทั้งหลายหวังจะบริโภค ก็จงบริโภคเถิด ถ้าเธอทั้งหลายจักไม่บริโภค เราทิ้งเสียในที่ที่ปราศจากของสดเขียว หรือจักเทเสียในน้ำที่ไม่มีตัวสัตว์ ณ บัดนี้ภิกษุสองรูปนั้น รูปหนึ่งมีความคิดอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จอิ่มหนำสำราญเป็นอันดี เพียงพอแก่ประโยชน์แล้ว แต่บิณฑบาตของพระผู้มีพระภาคนี้ยังมีเหลืออยู่ อันจำต้องทิ้ง ถ้าเราทั้งหลายจักไม่บริโภค พระผู้มีภาคก็จักทรงทิ้งในที่ที่ปราศจากของสดเขียว หรือจักทรงเทเสียในน้ำที่ไม่มีตัวสัตว์ ณ บัดนี้ แต่พระผู้มีพระภาคตรัสสอนไว้ดังนี้ว่า

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด อย่าเป็นอามิสทายาทเลย ก็บิณฑบาตนี้เป็นอามิสอย่างใดอย่างหนึ่ง อย่ากระนั้นเลย เราไม่พึงบริโภคบิณฑบาตนี้ พึงยังคืนและวันนี้ให้ล่วงไปอย่างนี้ด้วยความหิวและความถอยกำลังนี้แหละ เธอจึงไม่บริโภคบิณฑบาตนั้น แล้วยังคืนและวันนั้นให้ล่วงไปอย่างนี้ ด้วยความหิวและความถอยกำลังนั้นเอง.

    ส่วนภิกษุรูปที่ ๒ มีความคิดอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จอิ่มหนำสำราญเป็นอันดีเพียงพอแก่ประโยชน์แล้ว แต่บิณฑบาตของพระผู้มีพระภาคนี้ ยังมีเหลืออยู่ อันจำต้องทิ้ง ถ้าเราทั้งหลายจักไม่บริโภค พระผู้มีพระภาคจักทรงทิ้งในที่ที่ปราศจากของสดเขียว หรือจักทรงเทเสียในน้ำที่ไม่มีตัวสัตว์ ณ บัดนี้ อย่ากระนั้นเลย เราพึงบริโภคบิณฑบาตนี้ บรรเทาความหิวและความถอยกำลัง พึงยังคืนและวันนี้ให้ล่วงไปอย่างนี้ เธอจึงบริโภคบิณฑบาตนั้น บรรเทาความหิวและความถอยกำลัง พึงยังคืนและวันนั้นให้ล่วงไปอย่างนี้.

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้น แม้จะบริโภคบิณฑบาตนั้น บรรเทาความหิวและความถอยกำลัง พึงยังคืนและวันนั้นให้ล่วงไปอย่างนี้ ถึงอย่างนั้น ภิกษุรูปก่อนโน้น ยังน่าบูชาและสรรเสริญกว่า ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร?

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อความมักน้อย สันโดษ
    ขัดเกลา เลี้ยงง่าย ปรารภความเพียร แก่ภิกษุนั้นสิ้นกาลนาน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล พวกเธอจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด อย่าเป็นอามิสทายาทของเราเลย เรามีความเอ็นดูในพวกเธอว่า ทำอย่างไรหนอ พวกสาวกของเราพึงเป็นธรรมทายาท ไม่พึงเป็นอามิสทายาท

    พระผู้มีพระภาคสุคตเจ้า ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว จึงเสด็จลุกจากอาสนะเข้าสู่พระวิหาร.

    ปัญหาการไม่ตามศึกษาความสงัด

    ครั้งนั้น เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จหลีกไปไม่นาน ท่านพระสารีบุตรจึงเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย. ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรว่า ขอรับ ดังนี้.

    ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายย่อมไม่ศึกษาความสงัดตาม ด้วยเหตุเพียงเท่าไร เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายย่อมศึกษาความสงัดตาม ด้วยเหตุเพียงเท่าไร?

    ภิกษุเหล่านั้นเรียนว่า ข้าแต่ท่านผู้มีอายุ พวกกระผมมาแต่ที่ไกล ก็เพื่อจะทราบเนื้อความแห่งภาษิตข้อนี้ ในสำนักท่านพระสารีบุตร พวกกระผมขอโอกาส ขอเนื้อความแห่งภาษิตข้อนี้ จงแจ่มแจ้งกะท่านพระสารีบุตรเท่านั้นเถิด ภิกษุทั้งหลายได้สดับต่อท่านพระสารีบุตรแล้วจักทรงจำไว้.

    ท่านพระสารีบุตรจึงกล่าวว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้น พวกท่านจงฟังจงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว. ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว.

    ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายย่อมไม่ศึกษาความสงัดตาม ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ? ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อพระศาสดาเสร็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายในพระธรรมวินัยนี้ ไม่ศึกษาความสงัดตาม คือ พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายไม่ละธรรมเหล่านั้น เป็นผู้มักมาก ย่อหย่อน เป็นหัวหน้าในการท้อถอย ทอดธุระในความสงัด

    บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุผู้เถระอันวิญญูชนพึงติเตียนได้ ด้วยเหตุสามสถาน คือ อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่หนึ่งนี้ว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว พระสาวกทั้งหลายไม่ศึกษาความสงัดตาม อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่สองนี้ว่า พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายไม่ละธรรมเหล่านั้น อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่สามนี้ว่า สาวกทั้งหลายเป็นผู้มักมาก ย่อหย่อนเป็นหัวหน้าในการท้อถอย ทอดธุระในความสงัด.

    ภิกษุผู้เถระ อันวิญญูชนพึงติเตียนด้วยเหตุสามสถานเหล่านี้.บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุผู้มัชฌิมะ อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยเหตุสามสถาน คืออันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่หนึ่งนี้ว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายไม่ศึกษาความสงัดตาม อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่สองนี้ว่า พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายไม่ละธรรมเหล่านั้น อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่สามนี้ว่าสาวกทั้งหลายเป็นผู้มักมากย่อหย่อน เป็นหัวหน้าในการท้อถอย ทอดธุระในความสงัด. ภิกษุผู้
    มัชฌิมะ อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยเหตุสามสถานเหล่านี้.

    บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุผู้นวกะ อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยเหตุสามสถาน คืออันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่หนึ่งนี้ว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายไม่ศึกษาความสงัดตาม อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่สองนี้ว่า พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายไม่ละธรรมเหล่านั้น อันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยสถานที่สามนี้ว่า สาวกทั้งหลายเป็นผู้มักมาก ย่อหย่อน เป็นหัวหน้าในการท้อถอย ทอดธุระในความสงัด. ภิกษุผู้นวกะอันวิญญูชนพึงติเตียนได้ด้วยเหตุสามสถานเหล่านี้.

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายชื่อว่าไม่ศึกษาความสงัดตาม ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล.การตามศึกษาเรื่องความสงัด

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายย่อมศึกษาความสงัดตาม ด้วยเหตุเพียงเท่าไร? ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายในพระธรรมวินัยนี้ย่อมศึกษาความสงัดตาม คือ พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายละธรรมเหล่านั้น ไม่เป็นผู้มักมาก ไม่เป็นผู้ย่อหย่อนทอดธุระในการท้อถอย เป็นหัวหน้าในความสงัด.

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย บรรดาสาวกเหล่านั้น ภิกษุผู้เป็นเถระ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยเหตุสามสถาน คือ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่หนึ่งนี้ว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายศึกษาความสงัดตาม อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่สองนี้ว่า พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายละธรรมเหล่านั้น อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่สามนี้ว่า สาวกทั้งหลายไม่เป็นผู้มักมาก ไม่เป็นผู้ย่อหย่อน ทอดธุระในความท้อถอยเป็นหัวหน้าในความสงัด

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุผู้เถระ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยเหตุสามสถานเหล่านี้.
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย บรรดาสาวกเหล่านั้น ภิกษุผู้มัชฌิมะ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยเหตุสามสถาน คือ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่หนึ่งนี้ว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายศึกษาความสงัดตาม อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่สองนี้ว่า พระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายละธรรมเหล่านั้น อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่สามนี้ว่า สาวกทั้งหลายไม่เป็นผู้มักมาก ไม่เป็นผู้ย่อหย่อน ทอดธุระในความท้อถอยเป็นหัวหน้าในความสงัด

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุผู้มัชฌิมะ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญ
    ด้วยเหตุสามสถานเหล่านี้.
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย บรรดาสาวกเหล่านั้น ภิกษุผู้นวกะ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยเหตุสามสถาน คือ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่หนึ่งนี้ว่า เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลายศึกษาความสงัดตาม อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่สองนี้ว่าพระศาสดาตรัสถึงการละธรรมเหล่าใด สาวกทั้งหลายละธรรมเหล่านั้น อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วยสถานที่สามนี้ว่า สาวกทั้งหลายไม่เป็นผู้มักมาก ไม่เป็นผู้ย่อหย่อน ทอดธุระในความท้อถอยเป็นหัวหน้าในความสงัด

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุผู้นวกะ อันวิญญูชนพึงสรรเสริญด้วย
    เหตุสามสถานเหล่านี้.
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อพระศาสดาเสด็จอยู่สงัดแล้ว สาวกทั้งหลาย ชื่อว่าศึกษาความสงัดตาม ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล.

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย บรรดาธรรมดังกล่าวแล้วนั้น โลภะและโทสะ เป็นธรรมลามก มัชฌิมาปฏิปทา เพื่อละโลภะและโทสะมีอยู่ ทำความเห็น ทำความรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไประงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็มัชฌิมาปฏิปทานั้นทำความเห็น ทำความรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไประงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพานเป็นไฉน? อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แล คือ เห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบเลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ.

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย มัชฌิมาปฏิปทานี้นั้นแล ทำความเห็น ทำความรู้ เป็นไปเพื่อเข้าไประงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน.การปฏิบัติสายกลาง

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย บรรดาธรรมดังกล่าวแล้วนั้น ความโกรธและความผูกโกรธไว้เป็นธรรมลามก ... ความลบหลู่และความตีเสมอ เป็นธรรมลามก ... ความริษยาและความตระหนี่เป็นธรรมลามก ... ความเจ้าเล่ห์และความโอ้อวด เป็นธรรมลามก ... ความหัวดื้อและความแข่งดีเป็นธรรมลามก ... ความถือตัวและความดูหมิ่น เป็นธรรมลามก ... ความเมาและความเลินเล่อ เป็นธรรมลามก

    มัชฌิมาปฏิปทาเพื่อละความเมาและความเลินเล่อมีอยู่ ทำความเห็น ทำความรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไประงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลายมัชฌิมาปฏิปทานั้น ทำความเห็น ทำความรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไประงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน เป็นไฉน? อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แล คือ เห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบการงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ.

    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลายมัชฌิมาปฏิปทานี้แล ทำความเห็น ทำความรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไประงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน.

    ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจชื่นชม ยินดีภาษิตของท่านพระสารีบุตร ฉะนี้แล.
    จบ ธรรมทายาทสูตร
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    "ถ้าจะมีใครสักคนที่เลวครบเครื่องได้ขนาดนี้ ก็ต้องเป็นคึกฤทธิ์แห่งสำนักวัดนาป่าพง"

    เถรคาถา ติงสนิบาต
    ๑. ปุสสเถรคาถา
    คาถาสุภาษิตของพระปุสสเถระ
    ฤาษีมีชื่อตามโคตรว่า ปัณฑรสะ ได้เห็นภิกษุเป็นอันมาก ที่น่าเลื่อมใสมีตนอันอบรมแล้ว สำรวมด้วยดี จึงได้ถามพระปุสสเถระว่า ในอนาคตภิกษุทั้งหลายในศาสนานี้จักมีความพอใจอย่างไร มีความประสงค์อย่างไรกระผมถามแล้วขอจงบอกความข้อนั้นแก่กระผมเถิด?

    พระปุสสเถระจึงกล่าวตอบด้วยคาถาเหล่านี้ ความว่า
    ดูกรปัณฑรสฤาษี ขอเชิญฟังคำของอาตมา จงจำคำของอาตมาให้ดีอาตมาจะบอกซึ่งข้อความที่ท่านถามถึงอนาคต คือในกาลข้างหน้า ภิกษุ เป็นอันมากจักเป็นคนมักโกรธ มักผูกโกรธไว้ ลบหลู่คุณท่าน หัวดื้อโอ้อวด ริษยา มีวาทะต่างๆ กัน จักเป็นผู้มีมานะในธรรมที่ยังไม่รู้ทั่วถึงคิดว่าตื้นในธรรมที่ลึกซึ้ง เป็นคนเบา ไม่เคารพธรรม ไม่มีความเคารพกันและกัน ในกาลข้างหน้า โทษเป็นอันมากจักเกิดขึ้นในหมู่สัตวโลก

    ก็เพราะภิกษุทั้งหลายผู้ไร้ปัญญา จักทำธรรมที่พระศาสดาทรงแสดงแล้วนี้ให้เศร้าหมอง ทั้งพวกภิกษุที่มีคุณอันเลว โวหารจัด แกล้วกล้า มีกำลังมาก ปากกล้า ไม่ได้ศึกษาเล่าเรียน ก็จักมีขึ้นในสังฆมณฑลภิกษุทั้งหลายในสังฆมณฑล แม้ที่มีคุณความดี มีโวหารโดยสมควรแก่เนื้อความ มีความละอายบาป ไม่ต้องการอะไรๆ ก็จักมีกำลังน้อย

    ภิกษุทั้งหลายในอนาคตที่ทรามปัญญา ก็จะพากันยินดีเงินทอง ไร่นาที่ดิน แพะ แกะ และคนใช้หญิงชาย จักเป็นคนโง่มุ่งแต่จะยกโทษ
    ผู้อื่น ไม่ดำรงมั่นอยู่ในศีล ถือตัว โหดร้าย เที่ยวยินดีแก่การทะเลาะวิวาท จักมีใจฟุ้งซ่าน นุ่งห่มแต่จีวรที่ย้อมสีเขียวแดง เป็นคนลวงโลกกระด้าง เป็นผู้แส่หาแต่ลาภผล เที่ยวชูเขา คือมานะ ทำตนดั่งพระอริยเจ้าท่องเที่ยวไปอยู่ เป็นผู้แต่งผมด้วยน้ำมัน ทำให้มีเส้นละเอียดเหลาะแหละ ให้ยาหยอดและทาตา มีร่างกายคลุมด้วยจีวรที่ย้อมด้วยสีงา สัญจรไปตามตรอกน้อยใหญ่ จักพากันเกลียดชังผ้าอันย้อมด้วยน้ำฝาดเป็นของไม่น่าเกลียด

    พระอริยเจ้าทั้งหลายผู้หลุดพ้นแล้วยินดียิ่งนักเป็นธงชัยของพระอรหันต์ พอใจแต่ในผ้าขาวๆ จักเป็นผู้มุ่งแต่ลาภผลเป็นคนเกียจคร้าน มีความเพียรเลวทราม เห็นการอยู่ป่าอันสงัดเป็นความลำบาก จักใคร่อยู่ในเสนาสนะที่ใกล้บ้าน ภิกษุเหล่าใดยินดีมิจฉาชีพ จักได้ลาภเสมอๆ จักพากันประพฤติตามภิกษุเหล่านั้น (เที่ยวคบหาราชสกุลเป็นต้นเพื่อให้เกิดลาภแก่ตน) ไม่สำรวมอินทรีย์ เที่ยวไป

    อนึ่ง ในอนาคตกาล ภิกษุทั้งหลายจะไม่บูชาพวกภิกษุที่มีลาภน้อย จักไม่สมคบภิกษุที่เป็นนักปราชญ์มีศีลเป็นที่รัก จักทรงผ้าสีแดง ที่ชนชาวมิลักขะชอบย้อมใช้ พากันติเตียนผ้าอันเป็นธงชัยของตนเสีย บางพวกก็นุ่งห่มผ้าสีขาวอันเป็นธงของพวกเดียรถีย์ อนึ่ง ในอนาคตกาล

    ภิกษุเหล่านั้นจักไม่เคารพในผ้ากาสาวะ จักไม่พิจารณาในอุบายอันแยบคายบริโภคผ้ากาสาวะ เมื่อทุกข์ครอบงำ ถูกลูกศรแทงเข้าแล้ว ก็ไม่พิจารณาโดยแยบคาย แสดงอาการยุ่งยากในใจออกมา มีแต่เสียงโอดครวญอย่างใหญ่หลวง เปรียบเหมือนช้างฉัททันต์ ได้เห็นผ้ากาสาวะอันเป็นธงชัยของพระอรหันต์ ที่นายโสณุตระพราน นุ่งห่มไปในคราวนั้น ก็ไม่กล้าทำร้าย ได้กล่าวคาถาอันประกอบด้วยประโยชน์มากมายว่า ผู้ใดยังมีกิเลสดุจน้ำฝาด ปราศจากทมะและสัจจะจักนุ่งผ้ากาสาวะผู้นั้นย่อมไม่ควรนุ่งห่มผ้ากาสาวะ

    ส่วนผู้ใดคายกิเลสดุจน้ำฝาดออกแล้วตั้งมั่นอยู่ในศีลอย่างมั่นคง ประกอบด้วยทมะและสัจจะ ผู้นั้นจึงสมควรจะนุ่งห่มผ้ากาสาวะโดยแท้ ผู้ใดมีศีลวิบัติ มีปัญญาทราม ไม่สำรวมอินทรีย์กระทำตามความใคร่อย่างเดียว มีจิตฟุ้งซ่าน ไม่ขวนขวายในทางที่ควรผู้นั้นไม่สมควรจะนุ่งห่มผ้ากาสาวะ ส่วนผู้ใดสมบูรณ์ด้วยศีล ปราศจากราคะ มีใจตั้งมั่น มีความดำริในใจผ่องใส ผู้นั้นสมควรนุ่งห่มผ้ากาสาวะโดยแท้ ผู้ใดไม่มีศีล ผู้นั้นเป็นคนพาล มีจิตใจฟุ้งซ่าน มีมานะฟูขึ้นเหมือน
    ไม้อ้อ ย่อมสมควรจะนุ่งห่มแต่ผ้าขาวเท่านั้น จักควรนุ่งผ้าห่มผ้ากาสาวะอย่างไร

    อนึ่ง ภิกษุและภิกษุณีทั้งหลายในอนาคต จักเป็นผู้มีจิตใจชั่วร้าย ไม่เอื้อเฟื้อ จักข่มขี่ภิกษุทั้งหลายผู้คงที่ มีเมตตาจิต แม้ภิกษุทั้งหลายที่เป็นคนโง่เขลา มีปัญญาทราม ไม่สำรวมอินทรีย์ กระทำตามความใคร่ ถึงพระเถระให้ศึกษาการใช้สอยผ้าจีวร ก็จักไม่เชื่อฟังพวกภิกษุที่โง่เขลาเหล่านั้น อันพระเถระทั้งหลายให้การศึกษาแล้วเหมือนอย่างนั้น จักไม่เคารพกันและกัน ไม่เอื้อเฟื้อในพระอุปัชฌายาจารย์จักเป็นเหมือนม้าพิการไม่เอื้อเฟื้อนายสารถี ฉะนั้น

    ในกาลภายหลังแต่ตติยสังคายนา ภิกษุและภิกษุณีทั้งหลาย ในอนาคต จักปฏิบัติอย่างนี้.ครั้นพระปุสสเถระแสดงมหาภัยอันจะบังเกิดขึ้น ในกาลภายหลังอย่างนี้แล้ว เมื่อจะให้โอวาทภิกษุที่ประชุมกัน ณ ที่นั้นอีก จึงได้กล่าวคาถา ๓ คาถา ความว่า ภัยอย่างใหญ่หลวงที่จะทำอันตรายต่อข้อปฏิบัติ ย่อมมาในอนาคตอย่างนี้ก่อน ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ว่าง่าย จงพูดแต่ถ้อยคำที่สละสลวยมีความเคารพกันและกัน มีจิตเมตตากรุณาต่อกัน จงสำรวมในศีลปรารภความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวบากบั่นอย่างมั่นเป็นนิตย์ ขอท่านทั้งหลายจงเห็นความประมาท โดยความเป็นภัย และจงเห็นความไม่ประมาทโดยความเป็นของปลอดภัย แล้วจงอบรมอัฏฐังคิกมรรค เมื่อทำได้ดังนี้แล้ว ย่อมจะบรรลุนิพพานอันเป็นทางไม่เกิดไม่ตาย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สงสัยถามครับ ถ้าอยู่หน้าเครื่องจะตอบทันที ไม่รู้จัก**ปฎิสัมภิทาญาน** ไม่เคยเห็นอักษรทิพย์ ไม่เคยได้ยินสังคีตทิพย์ ใครก็ไม่มีทางตอบได้ชัดเจนครับเรื่องนี้ ไอ้พวกวัดนานั่น ฝันไปเลยมีแต่จะมาลอกไปและพาลว่าไม่ใช่ ตอนนั้นล่ะความฉิบหาย ความไม่เจริญในพระสัทธรรมจะเกิดกับพวกมัน อย่างโกลาหล
    "ผมอยากทุกท่านมั่นใจ"

    เรื่องนี้ว่าด้วยภูมิธรรมความแตกต่างของอสัตบุรุษและสัตบุรุษ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงภูมิอสัตบุรุษและสัตบุรุษแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุทั้งหลายนั้นทูลรับพระดำรัสพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ภูมิอสัตบุรุษเป็นไฉน อสัตบุรุษย่อมเป็นคนอกตัญญูอกตเวที ก็ความเป็นคนอกตัญญูอกตเวทีนี้ อสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความเป็นคนอกตัญญูอกตเวทีนี้ เป็นภูมิอสัตบุรุษทั้งสิ้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสัตบุรุษย่อมเป็นคนกตัญญูกตเวที ก็ความเป็นคนกตัญญูกตเวทีนี้ สัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความเป็นคนกตัญญูกตเวทีทั้งหมดนี้เป็นภูมิสัตบุรุษ ฯ

    ข้อที่ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกที่ห้ามอรรถและธรรมโดยสูตรซึ่งตนเรียนไว้ไม่ดี ด้วยพยัญชนะปฏิรูปนั้น ชื่อว่าปฏิบัติแล้วเพื่อมิใช่ประโยชน์ของชนมาก เพื่อมิใช่สุขของชนมาก เพื่อความฉิบหาย เพื่อมิใช่ประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อทุกข์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย อนึ่ง ภิกษุพวกนั้นยังจะประสพบาปเป็นอันมาก และทั้งชื่อว่าทำสัทธรรมนี้ให้อันตรธานไปอีกด้วย

    อยู่ที่ข้อแรก ก็คือ อสัตบุรุษเมื่อเล่าเรียนธรรมแล้ว ไม่พิจารณาให้ถ่องแท้ ไม่รู้จักอรรถจักธรรม และสัปปุริสธรรม 7 อัตถัญญุตา ความรู้จักอรรถ รู้ความมุ่งหมาย หรือ เป็นผู้รู้จักผล คือ รู้ความหมาย รู้ความมุ่งหมาย รู้ประโยชน์ที่ประสงค์ รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำหรือความเป็นไปตามหลัก เช่น รู้ว่าหลักธรรมหรือภาษิตข้อนั้นๆ มีความหมายว่าอย่างไร หลักนั้นๆ มีความมุ่งหมายอย่างไร กำหนดไว้หรือพึงปฏิบัติเพื่อประสงค์ประโยชน์อะไร การที่ตนกระทำอยู่มีความมุ่งหมายอย่างไร เมื่อทำไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างดังนี้เป็นต้น

    แตกต่างกันตรงที่ พยัญชนะปฎิรูปเมื่อได้ออกมาจากพระไตรปิฏกพรธรรมคัมภีร์ธรรมแม่บทดั้งเดิม จากอักษรอันเป็นทิพย์อันเป็นปกรณ์อันลึกซึ้ง ถ้าตกอยู่ในมือของผู้ที่ศึกษาไม่ดีไม่รู้อรรถไม่รู้ธรรม ไม่รู้จักแยกแยะเนื้อความแห่งธรรม ด้วยภูมิของอสัตบุรุษ พระสัทธรรมก็จะกลายเป็น สัทธรรมปฎิรูป

    แต่ถ้าหากตกอยู่ในมือของพระอริยะสาวกผู้มีปฎิสัมภิทาญานตลอดจนลงมาถึงผู้ที่ไม่มีปฎิสัมภิทาญานแต่ผู้นั้นเป็นสัตบุรุษ พระสัทธรรมนั้นก็จะยังคงยั่งยืนอยู่ ไม่อันตรธานหายไป เป็นอย่างนี้

    สองสิ่งนี้ แตกต่างกันตรงที่ภูมิธรรม ของ อสัตบุรุษหรือโฆฆะบุรุษ สามารถทำให้ พระสัทธรรมเลือนหายไปได้ นั่นก็คือ การทำให้พระสัทธรรม กลายเป็นสัทธรรมปฎิรูป
    การห้ามอรรถนั้นยังหมายถึง เรียนไม่ดีแล้วยังปกปิดไม่ให้ผู้อื่นได้มีโอกาสศึกษา และหากสอนก็สอนอย่างบิดเบือนไปมา ไม่ให้รู้คุณค่าความหมายที่แท้จริง อย่างที่คึกฤทธิ์แห่งวัดนาทำนั่นแหละครับ โฆฆะบุรุษผู้ห้ามอรรถและธรรมที่ตนศึกษาเอาไว้ไม่ดี


    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=20&A=1617&Z=1840

    พยัญชนะปฎิรูป คืออะไร

    (การเปลี่ยนแปลงจาก**ทิพยภาษา อักษรทิพย์**อรรถปฎิสัมภิทาญานสู่ภาษาบาลี หรือ สิงหลฯลฯจนมา สู่ภาษาไทย โดย

    อัตถปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในอรรถหรือปรีชาแจ้งเจนในความหมาย

    ธัมมปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในธรรม หรือปรีชาแจ้งเจนในหลัก

    นิรุตติปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในนิรุตติ หรือปรีชาแจ้งเจนในภาษา

    ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ หรือปรีชาแจ้งเจนในความคิดทันการ เบื้องสูงลดน้อยลงมาตามลำดับความสามารถ )

    ธรรมทั้งมวลนั้นฯ เราท่านต้องเข้าใจว่า เราต้องอ่านให้ออก และพยายามเข้าใจความหมายให้ละเอียดที่สุด เพราะสภาวะธรรมนั้นละเอียดอ่อนมาก จนไม่สามารถจะอธิบายเป็นคำพูดได้ แค่เพียงพุทธภาษิตเดียวขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่มีใครสามารถอธิบายได้อย่างแจ่มแจ้งเลยในยุคสมัยนี อัตตาหิ อัตตาโน นาโถ นี้ แม้เราได้วิมุตติแล้วในภาษิตนี้ ก็ยังจนปัญญา จะอธิบายให้เท่าที่เห็นที่รู้ได้ ฉนั้นอรรถาธิบายที่เป็นสัจฉิกัฐถปรมัตถ์ จึงจำเป็นมากในการเรียนรู้และศึกษา ไม่ควรถูกทำลายโดยสำนักวัดนาป่าพงนั้น ซึ่งจัดเป็นพวกแรกที่ห้ามอรรถห้ามธรรมที่เรียนไว้ไม่ดี

    (ทิพยภาษา ทิพยอักษร***ปฏิสัมภิทามรรคปกรณ์นี้นั้นสมบูรณ์ด้วยอรรถะ, พยัญชนะ, ลึกซึ้ง, มีอรรถลึกซึ้ง, ประกาศโลกุตระ, ประกอบด้วยสุญญตา***)

    http://palungjit.org/threads/ประกาศ...ัมภิทาญานให้เช็คอินแสดงตนที่กระทู้นี้.553107/
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มีนาคม 2016
  19. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    จากใจศิษย์สำนักวัดนาป่าพง
    Phongsophon Donse Paripunnho Bhikkhu
    รับพร " คนทั่วประเทศ ชาวพุทธไร้ซึ่งปัญญาขนาดนี้ "
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    AGALIGO คือ การเป็นอยู่ การมีอยู่ของ พระสัทธรรมราชา พระไตรปิฏกพระธรรมคัมภีร์ธรรมแม่บท ทิพยวิเศษบริสุทธิธรรม ซึ่งไม่ว่าในภัทร์กับป์หรือยุคพุทธสมัยพระพุทธเจ้าองค์ที่อุบัติผ่านมา ตลอดจนองค์ที่จะอุบัติในภายภาคหน้า หรือห้วงที่เว้นว่างพุทธันดรพระสัทธรรมนี้ก็ยังคงอยู่ ไม่ได้จางหายไปไหน ยังส่งผลแห่งปริยัติ ปฎิบัติและปฎิเวธ ยังสถิตอยู่ซึ่งตราบนานเท่านานเป็นอจิณไตย

    https://youtu.be/RMA0HM3DNsE
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มีนาคม 2016

แชร์หน้านี้

Loading...