" ความอดทน " ไม่คิดว่าจะมีอนิสงค์มากขนาดนี้ (*o*)

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย กระสือข้างส้วม, 22 มีนาคม 2005.

  1. กระสือข้างส้วม

    กระสือข้างส้วม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มกราคม 2005
    โพสต์:
    1,212
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +392

    [​IMG]

    อานิสงส์ของ<WBR>การ<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน

    ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>คือ<WBR>อะไร ?


    <DD>ความ<WBR>อด<WBR>ทน มา<WBR>จาก<WBR>คำ<WBR>ว่า ขันติ หมาย<WBR>ถึง<WBR> การ<WBR>รักษา<WBR>ปกติ<WBR>ภาวะ<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>ไว้<WBR>ได้ ไม่<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>ถูก<WBR> กระ<WBR>ทบ<WBR>กระทั่ง<WBR>ด้วย<WBR>สิ่ง<WBR>อัน<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>พึง<WBR>ปรารถนา<WBR>หรือ <WBR>ไม่<WBR>พึง<WBR>ปรารถนา<WBR>ก็<WBR>ตาม มี<WBR>ความ<WBR>มั่น<WBR>คง<WBR>หนัก<WBR>แน่น<WBR> เหมือน<WBR>แผ่น<WBR>ดิน ซึ่ง<WBR>ไม่<WBR>หวั่น<WBR>ไหว ไม่<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>คน<WBR>เท<WBR> อะไร<WBR>ลง<WBR>ไป ของ<WBR>เสีย ของ<WBR>หอม ของ<WBR>สกปรก หรือ<WBR>ของ<WBR>ดี<WBR>งาม<WBR>ก็<WBR>ตาม</DD>

    <DD>งาน<WBR>ทุก<WBR>ชิ้น<WBR>ใน<WBR>โลก<WBR>ไม่<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>งาน<WBR> เล็ก<WBR>งาน<WBR>ใหญ่ ที่<WBR>สำเร็จ<WBR>ขึ้น<WBR>มา<WBR>ได้<WBR>นอก<WBR>จาก<WBR>จะ<WBR>อาศัย <WBR> ปัญญา<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>แล้ว ล้วน<WBR>ต้อง<WBR>อาศัย<WBR>คุณ<WBR>ธรรม<WBR>อัน <WBR>หนึ่ง<WBR>เป็น<WBR>พื้น<WBR>ฐาน จึง<WBR>จะ<WBR>สำเร็จ<WBR>ได้ คุณ<WBR>ธรรม<WBR>อัน<WBR>นั้น <WBR>คือ ขันติ
    <DD>ถ้า<WBR>ขาด<WBR>ขันติ<WBR>เสีย<WBR>แล้ว จะ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>งาน<WBR>ชิ้น<WBR>ใด<WBR> เลย<WBR>สำเร็จ<WBR>ได้<WBR>เลย เพราะ<WBR>ขันติ<WBR>เป็น<WBR>คุณ<WBR>ธรรม<WBR>สำหรับ<WBR>ทั้ง<WBR> ต่อ<WBR>ต้าน<WBR>ความ<WBR>ท้อ<WBR>ถอย<WBR>หด<WBR>หู่ ขับ<WBR>เคลื่อน<WBR>เร่ง<WBR>เร้า<WBR>ให้<WBR> เกิด<WBR>ความ<WBR>ขยัน และ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>เห็น<WBR>อุปสรรค<WBR>ต่าง ๆ เป็นเครื่องท้า<WBR>ทาย<WBR> ความ<WBR>สามารถ ดัง<WBR>นั้น อาจ<WBR>กล่าว<WBR>ได้<WBR>ว่า ความ<WBR>สำเร็จ<WBR>ของ<WBR>งาน<WBR>ทุก <WBR>ชิ้น ทั้ง<WBR>ทางโลก<WBR>และ<WBR>ทางธรรม คือ อนุสาวรีย์<WBR>ของ<WBR>ขันติ<WBR>ทั้ง<WBR>สิ้น

    <DD>โดย<WBR>เหตุ<WBR>นี้ พระสัมมาสัมพุทธ<WBR>เจ้า<WBR>จึง<WBR>ตรัส<WBR>ว่า
    <DD>" ยก<WBR>เว้น<WBR>ปัญญา<WBR>แล้ว เรา<WBR>สรรเสริญ<WBR>ว่า<WBR>ขันติ<WBR>เป็น<WBR>คุณ <WBR>ธรรม<WBR>อย่าง<WBR>ยิ่ง <WBR><WBR>"</DD>ลักษณะ<WBR>ของ<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>ต้อง

    มี<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>กลั้น คือ เมื่อ<WBR>ถูก<WBR>คน<WBR>พาล<WBR>ด่า ก็<WBR>ทำ<WBR>ราวกับว่า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ยิน ทำ<WBR>หู<WBR>เหมือน<WBR>หู<WBR>กระทะ เมื่อ<WBR>เห็น<WBR>อาการ<WBR>ยั่ว<WBR>ยุ ก็<WBR>ทำ<WBR>ราวกับว่า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เห็น ทำ<WBR>ตา<WBR>เหมือน<WBR>ตา<WBR>ไม้<WBR>ไผ่ ไม่<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>ใย<WBR>ดี ไม่<WBR>ปล่อย<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>เศร้า<WBR>หมอง<WBR>ไป<WBR>ด้วย ใส่<WBR>ใจ สน<WBR>ใจ แต่<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ความ<WBR>เจริญ<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>ตน<WBR>เอง เช่น เจริญ<WBR>ศีล สมาธิ ปัญญา ให้<WBR>ยิ่ง ๆ ขึ้น<WBR>ไป



    <CENTER>[​IMG]</CENTER>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ไม่<WBR>ดุ<WBR>ร้าย คือ สามารถ<WBR>ข่ม<WBR>ความ<WBR>โกรธ<WBR>ไว้<WBR>ได้ ไม่<WBR>โกรธ<WBR>ไม่<WBR>ทำ<WBR>ร้าย<WBR>ทำ<WBR>อันตราย<WBR>ด้วย<WBR>อำนาจ<WBR>แห่งความ<WBR>โกรธ<WBR>นั้น ผู้<WBR>ที่<WBR>โกรธ<WBR>ง่ายแสดง<WBR>ว่า<WBR>ยัง<WBR>ขาด<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน มี<WBR>คำ<WBR>ตรัส<WBR>ของ<WBR>ท้าว<WBR>สัก<WBR>กะ เป็น<WBR>ข้อ<WBR>เตือน<WBR>ใจ<WBR>อยู่<WBR>ว่า


    <DD>" ผู้<WBR>ใด<WBR>โกรธ<WBR>ตอบ<WBR>ผู้<WBR>โกรธ<WBR>แล้ว ผู้<WBR>นั้น<WBR>กลับ<WBR> เป็น<WBR>คน<WBR>เลว<WBR>กว่า ผู้<WBR>ที่<WBR>โกรธ<WBR>ก่อน
    <DD>ผู้<WBR>ไม่<WBR>โกรธ<WBR>ต่อ<WBR>บุคคล<WBR>ผู้<WBR>กำลัง<WBR>โกรธ<WBR>อยู่
    <DD>ย่อม<WBR>ชื่อ<WBR>ว่า เป็น<WBR>ผู้<WBR>ชนะ<WBR>สง<WBR>ความ<WBR>อัน<WBR>ชนะ<WBR>ได้ <WBR>ยาก<WBR>ยิ่ง <WBR><WBR>" </DD></DD><DD><DD><CENTER>[​IMG]</CENTER></DD>

    1. ไม่<WBR>ปลูก<WBR>น้ำ<WBR>ตา<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>ใคร ๆ คือ ไม่<WBR>ก่อ<WBR>ทุกข์<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>ผู้<WBR>อื่น ไม่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ผู้<WBR>อื่น<WBR>เดือด<WBR>ร้อน<WBR>หรือ<WBR>เจ็บ<WBR>แค้น<WBR>ใจ<WBR>จน<WBR>น้ำ<WBR>ตา<WBR>ไหล ด้วย<WBR>อำนาจ<WBR>ความ<WBR>เกรี้ยว<WBR>กราด<WBR>ของ<WBR>เรา
    2. มี<WBR>ใจ<WBR>เบิก<WBR>บาน<WBR>แจ่ม<WBR>ใส<WBR>อยู่<WBR>เป็น<WBR>นิจ คือ มี<WBR>ปี<WBR>ติ<WBR>อิ่ม<WBR>เอิบ<WBR>ใจ<WBR>เสมอ ๆ ไม่<WBR>พยาบาท ไม่<WBR>โทษ<WBR>ฟ้า โทษ<WBR>ฝน โทษ<WBR> เทวดา โทษ<WBR>โชค<WBR>ชะตา หรือ<WBR>โทษ<WBR>ใคร ๆ ทั้ง<WBR>นั้น พยายาม<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>งาน<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>ด้วย<WBR>ใจ<WBR>เบิก<WBR>บาน

      <DD>
      ลักษณะ<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>นั้น โบราณ<WBR>ท่าน<WBR>สอน<WBR>ลูก<WBR>ไว้<WBR>ย่อ ๆ ว่า


      " ปิด<WBR>หู<WBR>ซ้าย<WBR>ขวา ปิด<WBR>ตา<WBR>สอง<WBR>ข้าง
      ปิด<WBR>ปาก<WBR>เสีย<WBR>บ้าง นอน<WBR>นั่ง<WBR>สบาย <WBR><WBR>"

      <DD>
      คน<WBR>บาง<WBR>คน<WBR>ขี้<WBR>เกียจ<WBR>ทำ<WBR>งาน บาง<WBR>คน<WBR>ขี้<WBR>เกียจ <WBR>เรียน<WBR>หนังสือ บาง<WBR>คน<WBR>เกะกะ<WBR>เกเร พอ<WBR>มี<WBR>ผู้<WBR>ว่า<WBR>กล่าว<WBR>ตัก <WBR>เตือน<WBR>ก็<WBR>เฉย<WBR>เสีย แล้ว<WBR>บอก<WBR>ว่า<WBR>ตน<WBR>เอง<WBR>กำลัง<WBR>บำเพ็ญ <WBR>ขันติ<WBR>บารมี อย่าง<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>การ<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ผิด ตี<WBR>ความ<WBR>หมาย <WBR>ของ<WBR>ขันติ<WBR>ผิด<WBR>ไป ขันติ<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>การ<WBR>ตก<WBR> อยู่<WBR>ใน<WBR>สภาพ<WBR>ใด<WBR>ก็<WBR>ทน<WBR>อยู่<WBR>อย่าง<WBR>นั้น


      <DD>
      " พวก<WBR>ที่<WBR>จน ก็<WBR>ทน<WBR>จน<WBR>ต่อ<WBR>ไป ไม่<WBR>ขวนขวาย<WBR>ทำ<WBR> มา<WBR>หา<WBR>กิน จัด<WBR>เป็น<WBR>พวก ตาย<WBR>ด้าน<WBR><WBR>"


      <DD>
      " พวก<WBR>ที่<WBR>โง่ ก็<WBR>ทน<WBR>โง่<WBR>ไป ใคร<WBR>สอน<WBR>ให้<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR> เอา จัด<WBR>เป็น<WBR>พวก ดื้อ<WBR>ด้าน <WBR><WBR>"


      <DD>
      " พวก<WBR>ที่<WBR>ชั่ว แล้ว<WBR>ก็<WBR>ชั่ว<WBR>อีก ใคร<WBR>ห้าม<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ฟัง จัด <WBR>เป็น<WBR>พวก ดื้อ<WBR>ดึง <WBR><WBR>"


      <DD>
      ลักษณะ<WBR>สำคัญ<WBR>ยิ่ง<WBR>ของ<WBR>ขันติ คือ ตลอด<WBR>เวลา<WBR>ที่<WBR>อด<WBR>ทน <WBR>อยู่<WBR>นั้น จะ<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>ใจ<WBR>ผ่อง<WBR>ใส ไม่<WBR>เศร้า<WBR>หมอง


      <DD>
      เรา<WBR>สรุป<WBR>ลักษณะ<WBR>ของ<WBR>ขันติ<WBR>โดย<WBR>ย่อ ได้<WBR>ดัง<WBR>นี้
      • อด<WBR>ทน<WBR>ถอน<WBR>ตัว<WBR>หรือ<WBR>หลีก<WBR>เลี่ยง<WBR>ความ<WBR>ชั่ว<WBR>ให้<WBR>ได้
      • อด<WBR>ทน<WBR>ทำ<WBR>ความ<WBR>ดี<WBR>ต่อ<WBR>ไป
      • อด<WBR>ทน<WBR>รักษา<WBR>ใจ<WBR>ไว้<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>เศร้า<WBR>หมอง
      </DD>
    ประเภท<WBR>ของ<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน

    ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>แบ่ง<WBR>ตาม<WBR>เหตุ<WBR>ที่<WBR>มาก<WBR>ระ<WBR>ทบ<WBR>ได้<WBR>เป็น 4 ประเภท<WBR>คือ


    </DD><DD>

    1. อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>ความ<WBR>ลำบาก<WBR>ตรากตรำ เป็น<WBR>การ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>สภาพ<WBR>ธรรม<WBR>ชาติ ดิน<WBR>ฟ้า<WBR>อากาศ ความ<WBR>หนาว ความ<WBR>ร้อน ฝน<WBR>ตก แดด<WBR>ออก ฯลฯ ก็<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>เรื่อย<WBR>ไป ไม่<WBR>ใช่<WBR>เอา<WBR>แต่<WBR>โทษ<WBR>เทวดา<WBR>ฟ้า<WBR>ดิน หรือ<WBR>อ้าง<WBR>เหตุ<WBR>เหล่า<WBR>นี้<WBR>แล้ว<WBR>ไม่<WBR>ทำ<WBR>งาน <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    2. อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>ทุขเวทนา เป็น<WBR>การ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>การ<WBR>เจ็บ<WBR>ไข้<WBR>ได้<WBR>ป่วย ความ<WBR>ไม่<WBR>สบาย<WBR>กาย<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>เอง ความ<WBR>ปวด ความ<WBR>เมื่อย ผู้<WBR>ที่<WBR>ขาด<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ประเภท<WBR>นี้ เวลา<WBR>เจ็บ<WBR>ป่วย จะ<WBR>ร้อง<WBR>ครวญ<WBR>คราง พร่ำ<WBR>เพ้อ<WBR>รำ<WBR>พัน หงุดหงิด ฉุน<WBR>เฉียว<WBR>ง่าย ผู้<WBR>รักษา<WBR>พยาบาล<WBR>ทำ<WBR>อะไร<WBR>ไม่<WBR>ทัน<WBR>ใจ<WBR>หรือ<WBR>ไม่<WBR>ถูก<WBR>ใจ ก็<WBR>โกรธ<WBR>ง่าย พวก<WBR>นี้<WBR>จึง<WBR>ต้อง<WBR>ป่วย<WBR>เป็น 2 เท่า คือ นอก<WBR>จาก<WBR>จะ<WBR>ป่วย<WBR>กาย<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>อยู่<WBR>แล้ว ยัง<WBR>ต้อง<WBR>ป่วย<WBR>ใจ<WBR>แถม<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>ด้วย ทำ<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>น่า<WBR>เบื่อ<WBR>หน่าย<WBR>แก่<WBR>ชน<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    3. อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>ความ<WBR>เจ็บ<WBR>ใจ เป็น<WBR>การ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>ความ<WBR>โกรธ ความ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>ใจ ความ<WBR>ขัด<WBR>ใจ อัน<WBR>เกิด<WBR>จาก<WBR>คำ<WBR>พูด<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>ชอบ<WBR>ใจ กิริยา<WBR>มารยาท<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>งาม การ<WBR>บีบ<WBR>คั้น<WBR>ทั้ง<WBR>จาก<WBR>ผู้<WBR>บังคับ<WBR>บัญชา<WBR>และ<WBR>ลูก<WBR>น้อง ความอยุติ<WBR>ธรรม<WBR>ต่าง ๆ ใน<WBR>สังคม ระบบ<WBR>งาน<WBR>ต่าง ๆ ที่<WBR>ไม่<WBR>คล่อง<WBR>ตัว ฯล<WBR>ฯ<DD>คน<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย<WBR>ใน<WBR>โลก<WBR>แตก<WBR>ต่าง<WBR>กัน<WBR>มาก<WBR>โดย<WBR>อัธยาศัย<WBR>ใจ<WBR>คอ โอกาส<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>ใจ<WBR>เรา<WBR>นั้น<WBR>อย่า<WBR>พึง<WBR>คิด เพราะ<WBR>ฉะนั้น เมื่อ<WBR>เริ่ม<WBR>เข้า<WBR>หมู่<WBR>คน<WBR>หรือ<WBR>มี<WBR>คน<WBR>ตั้ง<WBR>แต่<WBR>สอง<WBR>คน<WBR>ขึ้น<WBR>ไป ให้<WBR>เตรียม<WBR>ขันติ<WBR>ไว้<WBR>คอย<WBR>ต่อ<WBR>ต้าน<WBR>ความ<WBR>เจ็บ<WBR>ใจ</DD><DD></DD>
    4. อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>อำนาจ<WBR>กิเลส เป็น<WBR>การ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>อารมณ์<WBR>อัน<WBR>น่า<WBR>ใคร่ น่า<WBR>เพลิดเพลิน<WBR>ใจ อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>อยาก<WBR>ทำ แต่<WBR>ไม่<WBR>สม<WBR>ควร<WBR>ทำ เช่น อด<WBR>ทน<WBR>ไม่<WBR>เที่ยว<WBR>เตร่ ไม่<WBR>เล่น<WBR>การ<WBR>พนัน ไม่<WBR>เสพ<WBR>สิ่ง<WBR>เสพย์<WBR>ติด ไม่<WBR>รับ<WBR>สิน<WBR>บน ไม่<WBR>คอรัปชั่น ไม่<WBR>ผิด<WBR>ลูก<WBR>ผิด<WBR>เมีย<WBR>เขา ไม่<WBR>เห่อ<WBR>ยศ ไม่<WBR>บ้า<WBR>อำนาจ ไม่<WBR>ขี้<WBR>โอ่ ไม่<WBR>ขี้<WBR>อวด เป็น<WBR>ต้น
      <CENTER>[​IMG]</CENTER><DD>การ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ข้อ<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>ได้<WBR>ยาก<WBR>ที่<WBR>สุด โบราณ <WBR>เปรียบ<WBR>ไว้<WBR>ว่า</DD><DD><CENTER>" เขา<WBR>ด่า<WBR>แล้ว<WBR>ไม่<WBR>โกรธ ว่า<WBR>ยาก<WBR>แล้ว
      เขา<WBR>ชม<WBR>แล้ว<WBR>ไม่<WBR>ยิ้ม ยาก<WBR>ยิ่ง<WBR>กว่า <WBR><WBR>"
      </CENTER></DD>
    วิธี<WBR>ฝึก<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน
    1. ต้อง<WBR>คำนึง<WBR>ถึง<WBR>หิริ<WBR>โอตตัปปะ<WBR>ให้<WBR>มาก เมื่อ<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ละ<WBR>อาย<WBR>และ<WBR>เกรง<WBR>กลัว<WBR>ต่อ<WBR>บาป<WBR>อย่าง<WBR>เต็ม<WBR>ที่ ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ย่อม<WBR>จะ<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น ดัง<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>พระเตมีย์ใบ้
      <CENTER>[​IMG]</CENTER>
      <DD>
      เมื่อ<WBR>ครั้ง<WBR>พระสัมมาสัมพุทธ<WBR>เจ้า<WBR>ยัง<WBR>ทรง<WBR>บำเพ็ญ<WBR>บารมี<WBR> เป็น<WBR>พระ<WBR> โพธิสัตว์<WBR>อยู่ มี<WBR>อยู่<WBR>ชาติ<WBR>หนึ่ง พระ<WBR>องค์<WBR>เกิด<WBR>เป็น<WBR> โอรส<WBR>กษัตริย์<WBR>นาม<WBR>ว่า<WBR>พระเตมีย์ ขณะ<WBR>ที่<WBR>อายุ<WBR>ได้ 6-7 ขวบ ได้<WBR>เห็น<WBR> พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา<WBR>สั่ง<WBR>ประ<WBR>หาร<WBR>โจร<WBR>โดย<WBR>ใช้<WBR>ไฟ<WBR>ครอก<WBR> ให้<WBR>ตาย ด้วย<WBR>บุญ<WBR>บารมี<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>มา<WBR>ดี<WBR>แล้ว ทำ<WBR>ให้<WBR>พระเตมีย์ระลึก <WBR>ชาติ<WBR>ได้<WBR>ว่า<WBR>ภพ<WBR>ใน<WBR>อดีต<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>เคย<WBR>เป็น <WBR>กษัตริย์ และ<WBR>ก็<WBR>เคย<WBR>สั่ง<WBR>ประ<WBR>หาร<WBR>โจร ทำ<WBR>ให้<WBR>ต้อง<WBR>ตก <WBR> นรก<WBR>อยู่<WBR>ช้า<WBR>นาน จึง<WBR>คิด<WBR>ว่า ถ้า<WBR>ชาติ<WBR>นี้<WBR>เรา<WBR>ต้อง<WBR> เป็น<WBR>กษัตริย์<WBR>อีก ก็<WBR>ต้อง<WBR>ฆ่า<WBR>โจร<WBR>อีก แล้ว<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ตก<WBR>นรก <WBR>อีก
      <DD>
      <DD>
      ตั้ง<WBR>แต่<WBR>วัน<WBR>นั้น<WBR>มา พระเตมีย์จึง<WBR>แกล้ง<WBR>ทำ<WBR>เป็น<WBR>ใบ้ ทำ <WBR>เป็น<WBR>อ่อน<WBR>เปลี้ย<WBR>เสีย<WBR>ขา ไม่<WBR>ขยับ<WBR>เขยื้อน<WBR>ร่าง<WBR>กาย พระ<WBR>ราช <WBR>บิดา<WBR>จะ<WBR>เอา<WBR>ขนม<WBR>มา<WBR>เล่น<WBR>มา<WBR>ล่อ ก็<WBR>ไม่<WBR>สน<WBR>ใจ จะ <WBR>เอา<WBR>มด<WBR>มา<WBR>ไต่ ไร<WBR>มา<WBR>กัด เอา<WBR>ไฟ<WBR>มา<WBR>เผา<WBR>รอบ<WBR>ตัว <WBR>ให้<WBR>ร้อน เอา<WBR>ช้า<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>ท่า<WBR>จะ<WBR>แทง ก็<WBR>เฉย ครั้น<WBR>ถึง<WBR> วัย<WBR>หนุ่ม จะ<WBR>เอา<WBR>สาว ๆ สวย ๆ มา<WBR>ล่อ ก็<WBR>เฉย เพรา<WBR>คำนึง<WBR>ถึง<WBR>ภัย<WBR>ใน <WBR>นรก หิริ<WBR>โอตตัปปะ<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>เต็ม<WBR>ที่ จึง<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน <WBR>อยู่<WBR>ได้
      <DD>
      <DD>
      นาน<WBR>วัน<WBR>เข้า<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา<WBR>เห็น<WBR>ว่า ถ้า<WBR>เอา<WBR>พระเตมีย์ไว้ <WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>กาลกิณี<WBR>แก่<WBR>บ้าน<WBR>เมือง จึง<WBR>สั่ง<WBR>ให้<WBR>คน<WBR> นำ<WBR>ไป<WBR>ประ<WBR>หาร<WBR>เสีย<WBR>นอก<WBR>เมือง เมื่อ<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>พ้น<WBR>เมือง <WBR>แล้ว พระเตมีย์ก็<WBR>แสดง<WBR>ตัว<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>พิการ<WBR>แต่<WBR>อย่าง<WBR>ใด มี <WBR>พละ<WBR>กำลัง<WBR>สมบูรณ์<WBR>พร้อม แล้ว<WBR>ก็<WBR>ออก<WBR>บวช ต่อ<WBR>มา<WBR>พระ<WBR> ราช<WBR>บิดา ญาติ<WBR>พี่<WBR>น้อง ประชา<WBR>ชน<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ออก<WBR>บวช<WBR>ตาม<WBR>ไป <WBR>ด้วย และ<WBR>ได้<WBR>สำเร็จฌาณสมาบัติ<WBR>เป็น<WBR>จำนวน<WBR>มาก
      </DD><DD>
      </DD>
    2. ต้อง<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>เชิด<WBR>อารมณ์<WBR>ที่<WBR>มาก<WBR>ระ<WBR>ทบ<WBR>ให้<WBR>สูง<WBR>ขึ้น คือ นึก<WBR>เสีย<WBR>ว่า ที่<WBR>เขา<WBR>ทำ<WBR>แก่<WBR>เรา<WBR>อย่าง<WBR>นั้นน่ะดี<WBR>แล้ว เช่น เขา<WBR>ด่า ก็<WBR>นึก<WBR>เสีย<WBR>ว่า<WBR>เขา<WBR>ดี เขา<WBR>ตี ก็<WBR>นึก<WBR>เสีย<WBR>ว่า<WBR>ดี<WBR>กว่า<WBR>เขา<WBR>ฆ่า เมีย<WBR>ที่<WBR>ชู้<WBR>ยัง<WBR>ดี<WBR>กว่า<WBR>เมีย<WBR>ที่<WBR>ฆ่า<WBR>ผัว ผัว<WBR>มี<WBR>เมีย<WBR>น้อย<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>ดี<WBR>กว่า<WBR>ผัว<WBR>ที่<WBR>ฆ่า<WBR>เมีย<WBR>เพราะ<WBR>เห็น<WBR>แก่<WBR>หญิง<WBR>อื่น ถ้า<WBR>เปรียบกับการ<WBR>ชก<WBR>มวย การ<WBR>สู้<WBR>แบบ<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>คือ<WBR>การ<WBR>หลบ<WBR>หมัด<WBR>ของ<WBR>คู่<WBR>ต่อ<WBR>สู่ โดย<WBR>วิธี<WBR>หมอบ<WBR>ให้<WBR>หมัด<WBR>เขา<WBR>คร่อม<WBR>หัว<WBR>เรา<WBR>ไป<WBR>เสีย เรา<WBR>ไม่<WBR>เจ็บ<WBR>ตัว ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>นี้<WBR>ดู<WBR>จาก<WBR>พระ<WBR>ปุณณะเถระ

      <CENTER>[​IMG]</CENTER>
      <DD>พระ<WBR>ปุณณะเดิมเป็น<WBR>ชา<WBR>วสุ<WBR>นา<WBR>ปรัน<WBR>ตะ ไป<WBR>ค้า<WBR>ขาย<WBR> ที่<WBR>เมือง<WBR>สา<WBR>วัตถี ได้<WBR>ฟัง<WBR>เทศน์<WBR>จาก<WBR>พระสัมมาสัมพุทธ<WBR>เจ้า เกิด<WBR>ความ <WBR>เลื่อม<WBR>ใส<WBR>ศรัทธา<WBR>จึง<WBR>ออก<WBR>บวช
      <DD>ครั้น<WBR>บวช<WBR>แล้ว<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>สมาธิ<WBR> ภาวนา<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ผล เพราะ<WBR>ไม่<WBR>คุ้น<WBR>เคยกับสถาน<WBR>ที่ ท่าน<WBR>คิด<WBR>ว่า<WBR>ภูมิ<WBR>อากาศ<WBR>ที่<WBR>บ้านเดิมท่าน <WBR>เหมาะกับตัว<WBR>ท่าน<WBR>มาก<WBR>กว่า จึง<WBR>ทูลลา<WBR>พระสัมมาสัมพุทธ<WBR>เจ้า
      <DD>พระสัมมาสัมพุทธ<WBR>เจ้า รับ<WBR>สั่ง<WBR>ถาม<WBR>ว่า" เธอ<WBR>แน่<WBR>ใจ<WBR>หรือ ปุณณะ<WBR>, คน<WBR>ชา<WBR>วสุ<WBR>นา<WBR>ปรัน <WBR>ตะ<WBR>นั้น<WBR>ดุ<WBR>ร้าย<WBR>มาก<WBR>นัก ทั้ง<WBR>หยาบ<WBR>คาย<WBR>ด้วย เธอ<WBR>จะ<WBR> ทน<WBR>ได้<WBR>หรือ <WBR><WBR>"
      " ไหวพระ<WBR>เจ้า<WBR>ข้า <WBR><WBR>"
      " นี่<WBR>ปุณณะ<WBR>, ถ้า<WBR>คน<WBR>พวก<WBR>นั้น<WBR>เขา<WBR>ด่า<WBR>เธอ เธอ<WBR> จะ<WBR>มี<WBR>อุบาย<WBR>อย่าง<WBR>ไร <WBR><WBR>"
      " ข้าพเจ้า<WBR>จะ<WBR>คิด<WBR>ว่า ถึง<WBR>เขา<WBR>จะ<WBR>ด่า ก็<WBR>ยัง<WBR>ดี<WBR> กว่า<WBR>เขา<WBR>ตบ<WBR>ต่อย<WBR>ด้วย<WBR>มือ<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>ข้า <WBR><WBR>"
      " ถ้า<WBR>เผื่อ<WBR>เขา<WBR>ต่อย<WBR>เอา<WBR>ล่ะ ปุณณะ <WBR>"
      " ก็<WBR>ยัง<WBR>ดี<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>ข้า ดี<WBR>กว่า<WBR>เขา<WBR>เอา<WBR>ก้อน <WBR>ดิน<WBR>ขว้าง<WBR>เอา <WBR><WBR>"
      " ก็<WBR>ถ้า<WBR>เขา<WBR>เอา<WBR>ก้อน<WBR>ดิน<WBR>ขว้าง<WBR>เอา<WBR>ล่ะ <WBR><WBR>"
      " ข้า<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>คิด<WBR>ว่า ก็<WBR>ยัง<WBR>ดี<WBR>พระ <WBR>เจ้า<WBR>ข้า ดี<WBR>กว่า<WBR>เขา<WBR>เอา<WBR>ไม้<WBR>ตะ<WBR>พด<WBR>ตี<WBR>เอา <WBR><WBR>"
      " เออ ถ้า<WBR>เผื่อ<WBR>หวด<WBR>ด้วย<WBR>ตะ<WBR>พด<WBR>ล่ะ <WBR><WBR>"
      " ก็<WBR>ยัง<WBR>ดี<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>ข้า ดี<WBR>กว่า<WBR>ถูก<WBR>แทง<WBR>หรือ <WBR>ฟัน<WBR>ด้วย<WBR>หอก<WBR>ดาบ <WBR><WBR>"
      " เอา<WBR>ล่ะ ถ้า<WBR>เผื่อ<WBR>คน<WBR>พวก<WBR>นั้น<WBR>เขา<WBR>จะ<WBR>ฆ่า<WBR>เธอ <WBR>ด้วย<WBR>หอก<WBR>ด้วย<WBR>ดาบ<WBR>ล่ะ ปุณณะ <WBR>"
      " ข้า<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>คิด<WBR>ว่า มัน<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>การ <WBR>ดี<WBR>เหมือน<WBR>กัน พระ<WBR>เจ้า<WBR>ข้า <WBR><WBR>"
      " ดี<WBR>อย่าง<WBR>ไร ปุณณะ <WBR>"
      " ก็<WBR>คน<WBR>บาง<WBR>พวก<WBR>ที่<WBR>คิด<WBR>อยาก<WBR>ตาย ยัง<WBR>ต้อง<WBR> เสีย<WBR>เวลา<WBR>เที่ยว<WBR>แสวง<WBR>หาศัตราวุธ<WBR>มา<WBR>ฆ่า<WBR>ตัว<WBR>เอง แต่<WBR>ข้า<WBR>พระ <WBR>องค์ มี<WBR>โชค<WBR>ดี<WBR>คน<WBR>พวก<WBR>นั้น<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>เสีย<WBR>เวลา<WBR>ไป <WBR>เที่ยว<WBR>หาศัตราวุธ<WBR>อย่าง<WBR>เขา <WBR><WBR>"
      " ดี<WBR>มาก ปุณณะ เธอ<WBR>คิด<WBR>ได้<WBR>ดี<WBR>มาก เป็น<WBR>อัน<WBR>ตก<WBR>ลง เรา<WBR>อนุญาต<WBR>ให้<WBR>เธอ<WBR>ไป<WBR>พำ<WBR>นัก<WBR>ทำ<WBR>ความ<WBR>เพียร ที่<WBR>ตำบลสุนา <WBR>ปรัน<WBR>ตะ<WBR>ได้<WBR><WBR>"<DD>พระ<WBR>ปุณณะกลับ<WBR>ไป<WBR>เมืองสุนา<WBR>ปรัน<WBR>ตะ<WBR>แล้ว ทำ<WBR>ความ<WBR> เพียร ใน<WBR>ไม่<WBR>ช้า<WBR>ใจ<WBR>ก็<WBR>หยุด<WBR>นิ่ง จน<WBR>สำเร็จ<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>อรหันต์
      นี่<WBR>คือ<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>ปุณณะ นัก<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ตัว<WBR>อย่าง ซึ่ง<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ได้<WBR>โดย<WBR>วิธี<WBR>เชิด<WBR>อารมณ์<WBR>ที่<WBR>มาก<WBR>ระ<WBR>ทบ <WBR>นั้น<WBR>ให้<WBR>สูง<WBR>ขึ้น
      </DD>

    </DD>
    <DD>

    1. ต้อง<WBR>ฝึก<WBR>สมาธิ<WBR>ให้<WBR>มาก ๆ เพราะ<WBR>ขันติ<WBR>และ<WBR>สมาธิ<WBR>เป็น<WBR>คุณ<WBR>ธรรม<WBR>ที่<WBR>เกื้อ<WBR>หนุน<WBR>กัน ขันติ<WBR>จะ<WBR>หนัก<WBR>แน่น<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>สมาธิ<WBR>มา<WBR>รอง<WBR>รับ สมาธิ<WBR>จะ<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>ขันติ<WBR>เป็น<WBR>พื้น<WBR>ฐาน ขันติ<WBR>อุปมา<WBR>เหมือน<WBR>มือ<WBR>ซ้าย สมาธิ<WBR>อุปมา<WBR>เหมือน<WBR>มือ<WBR>ขวา จะ<WBR>ล้าง<WBR>มือ มือ<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ข้าง<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ช่วย<WBR>กัน<WBR>ล้าง จึง<WBR>จะ<WBR>สะอาด<WBR>ดี
      <DD>มี<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ของ<WBR>ผู้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>เป็น<WBR> เลิศ<WBR>อีก<WBR>ท่าน<WBR>หนึ่ง คือ พระ<WBR>โสมสนาค<WBR>เถระ
      <DD>พระ<WBR>โสมสนาค<WBR>เถระ เป็น<WBR>พระ<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>สมาธิ<WBR>สามารถ<WBR>ระลึก <WBR>ชาติ<WBR>ได้<WBR>แต่<WBR>ว่า<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>หมด<WBR>กิเลส วัน<WBR>หนึ่ง<WBR>ท่าน<WBR>นั่ง <WBR>สมาธิ<WBR>อยู่<WBR>กลาง<WBR>แจ้ง พอ<WBR>ถึง<WBR>ตอน<WBR>เที่ยง<WBR>แดด<WBR>ส่อง เหงื่อ<WBR> ไหล<WBR>ท่วม<WBR>ตัว<WBR>ท่าน พวก<WBR>ลูก<WBR>ศิษย์<WBR>จึง<WBR>เรียน<WBR>ท่าน<WBR>ว่า
      <DD>" ท่าน<WBR>ขอ<WBR>รับ นิมนต์<WBR>ท่าน<WBR>นั่ง<WBR>ใน<WBR>ร่ม<WBR>เถิด อากาศ<WBR>เย็น <WBR>ดี <WBR><WBR>"
      <DD>พระ<WBR>เถระ<WBR>กล่าว<WBR>ตอบ<WBR>ว่า
      <DD>" คุณ ฉัน<WBR>นั่ง<WBR>ใน<WBR>ที่<WBR>นี้ เพราะ<WBR>กลัว<WBR>ต่อ<WBR>ความ<WBR>ร้อน <WBR>นั้น<WBR>เอง <WBR><WBR>"
      <DD>แล้ว<WBR>นั่ง<WBR>พิจารณา<WBR>อเวจี<WBR>มหา<WBR>นรก<WBR>เรื่อย<WBR>ไป เพราะ<WBR>เคย <WBR>ได้<WBR>ตก<WBR>นรก<WBR>มา<WBR>หลาย<WBR>ชาติ เห็น<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>ร้อน<WBR>ใน<WBR> อเวจี<WBR>ที่<WBR>เคย<WBR>ตก<WBR>ร้อน<WBR>กว่า<WBR>นี้<WBR>หลาย<WBR>ร้อย<WBR>หลาย<WBR>พัน<WBR> เท่า ท่าน<WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>ลุก<WBR>หนี ตั้ง<WBR>ใจ<WBR>ทำ<WBR>สมาธิ<WBR>ต่อ<WBR>ไป จน<WBR>ใน <WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ได้<WBR>บรรลุ<WBR>ธรรม<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>อรหันต์
      <DD>พวก<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>ข้อ<WBR>คิด<WBR>เตือน<WBR>ใจ<WBR>อยู่<WBR>ว่า
      <DD>" ที่<WBR>อ้าง<WBR>ร้อน<WBR>นัก ขี้<WBR>เกียจ<WBR>ภาวนา ระวัง จะ<WBR>ไป<WBR>ร้อน<WBR>หมก <WBR>ไหม้<WBR>ใน<WBR>อเวจี หนาว<WBR>เสียด<WBR>กระดูก<WBR>ใน<WBR>โลกันต์ <WBR><WBR>"

      </DD>
    อานิสงส์<WBR>การ<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>อด<WBR>ทน

    </DD>

    1. ทำ<WBR>ให้<WBR>กุศล<WBR>ธรรม<WBR>ทุก<WBR>ชนิด<WBR>เจริญ<WBR>ขึ้น<WBR>ได้
    2. ทำ<WBR>ให้<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>มี<WBR> เสน่ห์ เป็น<WBR>ที่<WBR>รัก<WBR>ของ<WBR>คน<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย
    3. ทำ<WBR>ให้<WBR>ตัด<WBR>ราก<WBR>เง่า<WBR>แห่งความ<WBR>ชั่ว<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย<WBR>ได้
    4. ทำ<WBR>ให้<WBR>อยู่<WBR>เย็น<WBR>เป็น<WBR>สุข ทุกอิริ<WBR>ยา<WBR>บท
    5. ชื่อ<WBR>ว่า<WBR>ได้เครื่องประดับ<WBR>อัน<WBR>ประเสริฐ<WBR>ของ<WBR>นัก<WBR>ปราชญ์
    6. ทำ<WBR>ให้<WBR>ศีล<WBR>และ<WBR>สมาธิ<WBR>ตั้ง<WBR>มั่น
    "บุคคล<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>คำ<WBR>ของ<WBR>ผู้<WBR>สูง<WBR>กว่า<WBR>ได้ เพราะ<WBR>ความ<WBR>กลัว
    อด<WBR>ทน<WBR>ถ้อย<WBR>คำ<WBR>ของ<WBR>ผู้<WBR>เสมอ<WBR>กัน<WBR>ได้ เพราะ<WBR>เหตุ<WBR>แห่งความ<WBR>ดี
    ส่วน<WBR>ผู้<WBR>ใด<WBR>ใน<WBR>โลก<WBR>นี้ อด<WBR>ทน<WBR>ต่อ<WBR>คำ<WBR>ขอ<WBR>ของ<WBR>คน<WBR>เลว<WBR>กว่า<WBR>ได้
    สัต<WBR>บุรุษ<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย<WBR>กล่าว<WBR>ว่า ความ<WBR>อด<WBR>ทน<WBR>นั้น<WBR>สูง<WBR>สุด<WBR><WBR>"

    (พุทธ<WBR>พจน์)

    ที่มา
    http://kmitnb05.kmitnb.ac.th/~iti14826/assign/no27/no27.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 มิถุนายน 2005
  2. zipper

    zipper เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2004
    โพสต์:
    5,226
    ค่าพลัง:
    +10,590
    <b>#3</b>

    <b>UFO99</b>
    สมาชิก

    --------------------------------------------------------------------------------

    ตรงใจครับ ความอดทนดีอย่างนี้นี่เอง ขอบคุณครับ ต้องไปฝึกและหัดไตร่ตรองต่อแล้วครับ ต้องเรียนรู้เรื่อยๆครับดีจังเลย

    จาก UFO99 (ผู้อยากรู้)
    <hr>
    <b>#4</b>

    <b>แคท</b>
    สมาชิก

    สาธุ
    <hr>
    <b>#5</b>

    <b>jit_jai</b>
    ค้นหา........หนทางสว่าง

    ขอบคุณค่ะ กำลัง อดทน อดกลั้น อยู่ค่ะ
    <hr>
    <b>#6</b>

    <b>atidtarn</b>
    สมาชิก

    --------------------------------------------------------------------------------

    ขอบพระคุณ และขออนุโมทนาค่ะ กำลังต้องการกำลังใจจากการทำขันติอยู่พอดี แต่ไม่คิดว่าการปฏิบัติจะได้บุญกุศลด้วย บางที่พอเจอคู่กรณีเดินผ่านหน้าไป ใจเราก็ผ่องใส ด้วยความสงสารที่เห็นเขาตั้งอยู่ในทิฐิแห่งความโกรธ ไม่ยอมวางเสียที แต่บางที่ใจของเราก็พลอยเศร้าหมองไปกับเขา ที่เห็ฯเขาเป็นเช่นนั้น คืนนั้นก็จะแผ่เมตตาให้เขา แต่เหมือนว่าเราไปยึดมั่นถือมั่น ยังยึดติดกับความรู้สึกที่เขามีต่อเรา ทำให้ใจของเราหวั่นไหวไปกับเขาด้วย
    พอได้อ่านข้อความเรื่องขันตินี้ ก็ได้ปัญญา จึงขอขอบคุณ และอนุโมทนาค่ะ เพราะทราบแล้วว่าครจะปฏิบัติเช่นไร ได้ความกระจ่างขึ้น แต่ก็ยังสงสัยอยู่ว่า แล้วเมื่อไรเหตุการณ์ดังกล่าวจะกลับกลายเป็นดี จะมีบ้างไหมคะ ที่การที่เรามีขันติ จะทำให้เขายอมวางอาวุธแห่งใจ หรือทิฐิของเขาลง
    <hr>
    <b>#7</b>

    <b>กระสือข้างส้วม</b>
    ฝ่ายเอนเตอร์เทน อิ อิ

    --------------------------------------------------------------------------------

    ถ้าเราใช้พลังแห่งความเมตตาช่วยด้วยจะดีขึ้นค่ะ อโหสิกรรมและแผ่เมตตาให้กับเขามาก ๆ

    พลังแห่งความเมตตานี้จะส่งถึงกันได้ จะลดความรุ่มร้อนใจในจิตทั้งของเราและของเค้าได้ค่ะ

    การที่เรารุ้สึกดี หรือไม่ดีกับใครซักคน บางทีมันก็มีเหตุมาแต่กาลก่อนเหมือนกันนะคะ

    แต่เมื่อเรายอมที่จะวางอาวุธในใจก่อน เราก็จะได้ยุติการฟาดฟันที่ไม่จบสิ้นนี้เสียที
    ไม่ต้องติดตามกันไปฟาดฟันกันอย่างไม่จบสิ้นอีก

    ขอยกเรื่องของกรรมมาให้อ่านนิดนึงนะคะ .....

    อนึ่งการเผชิญภาวะต่างๆนั้นคือ " กรรมเก่า "

    การตัดสินใจเลือกการตอบสนองนั้นคือ" กรรมใหม่ "

    ตัวอย่างเช่น
    นายดำเคยประทุษร้ายบุคคลผู้ไม่ผิดแต่กาลก่อน มาในบัดนี้กรรมนั้นทำให้นายดำถูกประทุษร้ายโดยไม่ผิด
    เมื่ออยู่ในภาวะเผชิญเช่นนี้ นายดำสามารถเลือกตอบสนองได้ 3 วิธีคือ

    1. วางเฉย
    ก็เป็นอันว่าได้รับผลกรรมแล้ว กรรมนั้นก็สิ้นสุดลง

    2. ประทุษร้ายตอบ
    ก็เป็นอันว่ารับกรรมเก่าและก็สร้างกรรมดำใหม่ขึ้นอีก
    ในกาลต่อไปก็จักโดนประทุษร้ายอีกแน่นอน

    3. อภัยและเมตตา
    ก็เป็นอันว่ารับกรรมเก่าแล้ว ก็สร้างกรรมขาวใหม่ขึ้น
    ในกาลต่อไปศัตรูนั้นก็จักกลายมาเป็นมิตร

    พระพุทธองค์ตรัสว่า " หว่านพืชเช่นไร ก็ได้รับผลเช่นนั้น "


    เพราะฉะนั้นต่อไปภายภายหน้าหากเราเกิดโมโหเพราะมีคนดูถูกเรา ก็จงย้อนระลึกนึกถามตัวเองก่อนว่า
    " เราเคยดูถูกคนอื่นบ้างไหม? " และควรจะบอกกับตัวเองว่า
    " สิ่งที่เราได้รับอยู่นี้เป็นผลจากการกระทำที่ไม่ดีของเราในอดีต เราควรยอมรับเคราะห์กรรมนี้
    โดยไม่เคืองแค้นใครๆ เมื่อมันผ่านพ้นไปก็คือ เราได้ชดใช้หนี้กรรมของเราให้หมดไปครั้งหนึ่ง "
    แท้จริงแล้วการที่เราทำอย่างนี้ ไม่เพียงแต่ชดใช้หนี้กรรมเท่านั้น แต่เรายังได้พิจารณาอุปนิสัย
    มีความอดกลั้นแลฝึกหัดระงับอารมณ์ของเราด้วย ......
    __________________

    กาสือเป็นกำลังใจให้นะคะ .....
    <hr>
    <b>#8</b>

    <b>DaDa</b>
    Guest

    --------------------------------------------------------------------------

    สาธุ โมทนาครับ
    <hr>
    <b>#9</b>

    <b>Vladimir Lenin </b>
    -... Hoshino Aya ...-

    สาธุ สาธุ สาธุ
    <hr>
    <b>#10</b>

    <b>ษิตา</b>
    สมาชิก

    อ่านอย่างตั้งใจ.เงียบ ๆ..//...สาธุ..!!
    <hr>
    <b>#11</b>

    <b>ดวงแก้ว</b>
    กระแสรายวัน

    <center>กระสือน่ารัก
    ใจดีด้วย
    ชอบทำบุญสุนทาน
    มีเมตตา กรุณา
    เผื่อแผ่ผู้อื่นเป็นนิจ
    จิตใจอ่อนโยน
    เป็นบุคคลน่ายกย่อง
    ............
    .......







    .........
    ....
    " เขาชมแล้วไม่ยิ้ม ยากยิ่งกว่า "
    วันนี้แจกอมยิ้มฟรี..
    อย่าอ้าปากมากนะ
    เดี๋ยวได้เคี้ยวแมลงวัน
    เป็นอาหาร
    บาป..อีก
    คิกคิก.........ๆๆ
    </center>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 มิถุนายน 2005
  3. กระสือข้างส้วม

    กระสือข้างส้วม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มกราคม 2005
    โพสต์:
    1,212
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +392
    ขอบใจซิปมากที่กู้กระทู้นี้มาให้ ได้มาอ่านทบทวนเพื่อฝึกความอดทนกันอีกรอบ ....(b-flower)
     
  4. Harukase.yui

    Harukase.yui สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +8
    ดีมากๆเลยค่ะ จานำไปปฏิบัติตาม ขอบคุณค่ะ
     
  5. พรายแสง

    พรายแสง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2004
    โพสต์:
    833
    ค่าพลัง:
    +371
    สาธุนะจ๊ะ อ่านอ่านนี้แล้วไปอ่านกระทู้ขัดใจที่ห้องสุขภาพอีก แล้วกิ๊กเลยค่ะ.. ว่าด้วยเรื่องของความอดทนทั้งนั้น
     
  6. chatyamn

    chatyamn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    664
    ค่าพลัง:
    +4,059
    รับทราบนำไปปฏิบัติครับ.....
     
  7. โอมพุทโธกิเตศวร

    โอมพุทโธกิเตศวร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    140
    ค่าพลัง:
    +198
    ...............โอม........พุทโธ..........ศานติ............
     
  8. KomAon11

    KomAon11 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    4,802
    ค่าพลัง:
    +18,984
    โมทนากะพี่ส้วมข้างสือ

    คนที่จะอดทนนั้น...

    1. ก็ย่อมมองเห็นประโยชน์ของความอดทน ว่าสร้างไมตรี และความร่มเย็น
    2. มีความเสียสละอยู่มาก เพราะว่า คนอดทนนั้น ย่อมทำในสิ่งที่ฝืนใจตัวเองในครั้งแรกๆ แต่ก็มีความอดทนเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข

    ลักษณะความอดทน*** บุคคลที่จะประสบความสำเร็จมีได้หลายทาง .. ความอดทนเป็น ทางแห่งความสำเร็จในงานนั้นๆ ... เป็น 1 ใน บารมี 10 .. บารมีเป็นเครื่องวัดกำลังใจ ใจทุกๆอย่าง .. วัดได้ถึงกำลังใจเพื่อตัดกิเลส
     
  9. แคท

    แคท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2005
    โพสต์:
    616
    ค่าพลัง:
    +1,666
    ขอโมทนา สาธุ
    ใช่เลย ค่ะ ในเมื่อ คนอื่น โยนกองไฟ มาให้เรา ..
    ก้อพยายาม ดับ มัน..เสีย
    ใยต้อง ไป เพิ่มเติ่มให้มันร้อน ยิ่งขึ้น...
    ดับ มันด้วยใจ ของเรา นี่แหระ
    พูด ง่าย แต่ ปฏิบัติลำบาก ..
     
  10. Wisdom

    Wisdom ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    1,669
    กระทู้เรื่องเด่น:
    11
    ค่าพลัง:
    +26,542
    ใช้นิวรณ์ข่มความไม่พอใจไว้ฝึกเข้าแล้วผลดีจะตกกับเราโดยที่คนที่ทำเรานั้นก็จะเปรียบเสมือนว่าถ่มนำลายขึ้นฟ้าก็เข้าหน้าตัวเองอยู่อย่างนั้น
     
  11. never

    never สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    6
    ค่าพลัง:
    +10
    มีประโยชน์ดีครับ
     
  12. potisad

    potisad เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +103
    นั้นจิ.........คุณ never คุณนี้.....ของแท้เลย แหละ
    เพราะว่า....
    เพราะว่า.........หากคนนับถือศาสนา แล้วยังแก่งแย่ง รบรา อคติต่อกัน ศาสนาไม่ได้ช่วยอะไรเลย ใข้กฎหมายประเทศ กฎหมายบ้านเมือง กฎกระทรวง กันดีกว่า ใข่ปะ.........
    โอ้ มายกอด
    หากคุณเคยผ่านกฎนิวตัน ทั้ง 3 ข้อ หรือจนกระทั้ง กฎของคุณอัลเบิตไอสไตร์
    คุณยอมรับละว่า ทุกสิ่งมีมาแต่เหตุ ปัจจัย
    จริงปะ
    ทุกอย่างมีกรอบ....
    แอะๆ....แต่เมื่อคิดนอกกรอบนี้ คุณก็จะไปอยู่อีกกรอบ
    กรอบที่สร้างขึ้นใหม่ไฉไลกว่าเดิม.....ว่าเข้านั้น

    คนมีปัญญา ไม่ควรปิดหู ปิดตาตนเอง อย่าเพิ่งด่วนสรุป ตามที่ตนเข้าใจเรียนรู้....มา....แค่นั้นเอง

    เชิญท่านพิเคราะห์ให้ดี พระพุทธเจ้าสอนอะไร
    ผมเป็นแบบคุณมานานแล้ว เรียนรู้ทำจริงมา ทั้งคริสต์ อิสลาม วิทยาศาสตร์ สัมผัสเทพเทวา ผี ท้ายสุดนี้ ยอมศิโรราบ...อะอะ...นั้นมันเรื่องของผม
    ผมไม่ได้ว่าไรคุณ ...คิดไปเอง... เก่งจริงพิสูจน์ความจริงกันสิ ทำได้มะ ทำสัจจะให้มีฤทธิ อึ..ทำได้วันไหนมาหาผมนะ จะกราบงามๆ เก่งจริงมะกัว กัวมะจิง ฮิว.....
    วันนี้ ผมบ้า ปะวะ
     
  13. potisad

    potisad เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +103
    เอะๆๆ......
    ศาสนา คือ อะไร
    กฎหมายไหนบ่งบอก บัญญัติไว้บ้างนะ
    ภาษาอังกิดว่าไง
    คนที่หลง ศาสนา น่าจะรู้ตัวบ้างนะ เนเวอร์ นะ ผมเข้าข้างคุณ 100เปอร์เซนต์
    กฎแห่งความจริง คือ ไร
    พุทธองค์ ประกาศกฎนี้ออกไป ให้แก่คนที่พร้อมจะรับ ใครไม่ตั้งใจรับ ไม่ตัองการ ไม่ได้โปรด
    ........อืม น่าจะแก้กฎหมายนะ....อย่าระบุได้ปะว่า นับถือไร...
    แต่ มันเป็นเหตุผลทางการปกครองนะครับ แนงโน้ม แนวนโยบาย ต้องดูทิศทาง กรอบความคิด ด้วยครับ
    โม้เลิน ลาก่อนดีกว่า
    โขคดี เนวเวอร์
     
  14. koymoo

    koymoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2004
    โพสต์:
    2,066
    ค่าพลัง:
    +7,067
    ใช่ค่ะพี่ปุ๊ ก้อยลองมาแล้ว เมื่อไม่นานมานี้ ก้อยเป็นคนโกรธง่ายมากๆๆ อะไรหรือใครที่ทำให้ตนเองไม่พอใจก็จะด่าๆๆ จนแฟนเกือบจะเลิก แต่ตอนนี้ก้อยใช้ความอดทน รู้สึกทุกอย่างดีขึ้นมาก ทั้งๆที่ถ้าเป็นเหตุการณ์เดียวกัน แต่เป็นเมื่อก่อน ก้อยก็จะโทสะ จะไม่ใช่แบบนี้ ก้อยคิดว่าแบบนั้นมันมีความทุกข์ เราโกรธ เราด่าเขาไป อะไรไม่เห็นดีขึ้น ปัญหาก็ไม่ถูกแก้ หนำซ้ำยังเป็นการเพิ่มปัญหาให้ตัวเองด้วย สุดท้ายเราก็ต้องมานั่งทุกข์เสียเอง ...
     
  15. รุน

    รุน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +77
    บางทีความอดทนก็น่าเบื่อนะคะ ในชีวิตอดทนมาตลอดเลยค่ะ (แฮะ ๆๆ มีบ้างที่เผลอ) สาธุด้วยนะคะ
     
  16. goya

    goya สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +1
    เห็นด้วยค่ะ ความอดทนดีอย่างนี้เอง แต่คงต้องใช้เวลาในการฝึกมากเลย
    ตอนนี้อยากได้กำลังใจจากท่านสมาชิก ด้วยตอนนี้รู้ว่าสามีกำลังโกหกเรา
    เรื่องผู้หญิง เขากำลังมีสัมพันธ์กับหญิงอื่น ช่วยแนะนำด้วยว่าควรทำอย่าง
    ไรดี
     
  17. ดาวจัง

    ดาวจัง สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +6
    อนุโมทนา สาธุด้วยคนค่ะ
    นำไปปฏิบัติอดทนนะดีค่ะ แต่ทำใจได้ยากจริงๆนะ หลุดไปบ้างเหมือนกัน ต้องความพยายามค่อนข้างมากแต่ทำได้ก็สบายใจดี ไม่ค่อยทุกข์เหมือนไฟสุม สงบขึ้นเยอะ แต่ก็ยังมีบ้างบางครั้งค่ะ ที่ยังตัดไม่ขาดมีโมโห
     
  18. ดาวจัง

    ดาวจัง สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +6
    อนุโมทนา สาธุด้วยคนค่ะ
    นำไปปฏิบัติอดทนนะดีค่ะ แต่ทำใจได้ยากจริงๆนะ หลุดไปบ้างเหมือนกัน ต้องความพยายามค่อนข้างมากแต่ทำได้ก็สบายใจดี ไม่ค่อยทุกข์เหมือนไฟสุม สงบขึ้นเยอะ แต่ก็ยังมีบ้างบางครั้งค่ะ ที่ยังตัดไม่ขาดมีโมโห
     
  19. ดาวจัง

    ดาวจัง สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +6
    อนุโมทนา สาธุด้วยคนค่ะ
    นำไปปฏิบัติอดทนนะดีค่ะ แต่ทำใจได้ยากจริงๆนะ หลุดไปบ้างเหมือนกัน ต้องความพยายามค่อนข้างมากแต่ทำได้ก็สบายใจดี ไม่ค่อยทุกข์เหมือนไฟสุม สงบขึ้นเยอะ แต่ก็ยังมีบ้างบางครั้งค่ะ ที่ยังตัดไม่ขาดมีโมโห
     
  20. Attawat_Rx

    Attawat_Rx เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,183
    ค่าพลัง:
    +18,403
    โมทนาครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...